โครงสร้างทางสังคมภาษาภาษกะเหรี่ยงจัดอยู่ในตระกูลภาษจีน-ธิเบต ดังแผนภูม การแปล - โครงสร้างทางสังคมภาษาภาษกะเหรี่ยงจัดอยู่ในตระกูลภาษจีน-ธิเบต ดังแผนภูม อังกฤษ วิธีการพูด

โครงสร้างทางสังคมภาษาภาษกะเหรี่ยงจั

โครงสร้างทางสังคม

ภาษา

ภาษกะเหรี่ยงจัดอยู่ในตระกูลภาษจีน-ธิเบต ดังแผนภูมิ



ลักษณะเด่นๆ ของภาษากะเหรี่ยงที่แตกต่างจากภาษาไทย ได้แก่ โครงสร้างพยางค์ เสียงพยัญชนะ และเสียงสระ รวมทั้งเสียงวรรณยุกต์ซึ่งในบางถิ่นจะมีลักษณะน้ำเสียงเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย

โครงสร้างพยางค์ ภาษากะเหรี่ยงสะกอไม่มีพยัญชนะสะกด ในบางถิ่นอาจพบว่ามีพยัญชนะสะกดบ้าง แต่ก็เป็นจำนวนน้อยมาก ด้วยเหตุนี้เมื่อคนกะเหรี่ยงเรียนพูดภาษาไทย จะพบว่ามีปัญหาในการออกเสียงและการได้ยินพยัญชนะสะกดของภาษาไทย เช่นคำว่า “กัก กัด กับ” เป็นต้น

เสียงพยัญชนะและเสียงสระบางเสียง เสียงพยัญชนะของภาษากะเหรี่ยงสะกอที่แตกต่างจากภาษาไทยอย่างเด่นชัด คือเสียงกลุ่มเสียดแทรก ได้แก่ เสียงเสียดแทรกระหว่างฟัน เส้นเสียงไม่สั่น ออกเสียงเหมือนเสียงต้นในภาษาอังกฤษว่า “Think”

เสียงเสียดแทรกที่เพดานอ่อน เส้นเสียงไม่สั่น /X/
เสียงเสียดแทรกที่เพดานอ่อน เส้นเสียงสั่น /Y/
เสียงเสียดแทรกที่เพดานแข็ง เส้นเสียงสั่น /J/ (Puttachart 1983)

ภาษากะเหรี่ยงในบางที่บางถิ่น พบเสียงเสียดแทรกอื่นๆ ที่ไม่ปรากฏในภาษา ได้แก่ เสียงเสียดแทรก ที่ใช้ปลายลิ้น และปุ่มเหงือก เส้นเสียงสั่น /Z/ และมีเสียงเสียดแทรก ที่ใช้ฟันบนและริมฝีปาก เส้นเสียงสั่น /V/ ภาษากะเหรี่ยงสะกอมีพยัญชนะเสียงควบกล้ำ ที่ภาษาไทยไม่มี ได้แก่ เสียง ย/ j/ และเสียงเสียดแทรกที่โคนลิ้น เส้นเสียงสั่น ฬ /Y/ ในคำว่า แพยะ /phje3/ เรียนเก่ง และ เฬ /Ye2/ ดี,สวยตามลำดับ ลักษณะเด่นของเสียงสระที่แตกต่างจากภาษาไทยคือ ไม่มีความแตกต่างของสระสั้นยาวที่นัยสำคัญทำให้คำมีความหมายเปลี่ยนไป และไม่มีสระประสม (สุริยา รัตนกุล และคณะ 2529)

โครงสร้างเสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ในภาษากะเหรี่ยงสะกอบางถิ่น เช่น ที่อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน พบว่ามีลักษณะน้ำเสียง 3 ลักษณะ ปรากฏร่วมกับเสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงลมแทรก (Breathy) เสียงต่ำลึก (creaky) และเสียงบีบเส้นเสียง (giottalized) ลักษณะน้ำเสียงเหล่านี้ เมื่อเกิดร่วมกับระดับเสียงสูงต่ำทำให้เกิดวรรณยุกต์ 6 วรรณยุกต์ ดังต่อไปนี้

วรรณยุกต์กลางในคำว่า /wa1/ “white”
วรรณยุกต์สูงมีลมแทรก ในคำว่า /wa2/ “to flap”
วรรณยุกต์ต่ำมีลมแทรก ในคำว่า /wa3/ “husband”
วรรณยุกต์ต่ำลึก ในคำว่า /wa4/ “to scratch”
วรรณยุกต์สูงบีบเส้นเสียง ในคำว่า /wa5/ “bamboo,to pass under”
วรรณยุกต์ต่ำบีบเส้นเสียง ในคำว่า /wa6/ “round,circle” (puttachart 1983;55)
นอกจากภาษากะเหรี่ยงที่ใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว กะเหรี่ยงสะกอส่วนใหญ่จะพูดภาษาไทยเหนือได้ เนื่องจากกะเหรี่ยงสะกอเป็นกลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่าพวกอื่นและรับการพัฒนาได้เร็วกว่าพวกอื่น (สุริยา รัตนกุล และคณะ 2529)







0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Social structure.LanguageKaren language is in Chinese language family-tree: Tibet.Featured property of the Karen language that is different from the Thai consonants and syllable structure, namely vowel sounds, including audio guides, which in some cases will look water sound is incorporated with it.Karen language syllable structure, consonant spelled is sako. In some local may find that there are many consonants which spell, although it is very little. It is for this reason that when people speak Thai language classes, Karen. You will find that there are problems in the pronunciation and spelling of the second hearing, Thai language, the words "to prevent bites with", etc.Some of the consonants and vowels of consonants sound differently from sako Karen Thai language markedly voiceless sound is voiceless: siangklum between the teeth does sound like the shake line audio source in English, which means "Think"The voiceless sound light audio line ceiling steady/X/ The voiceless sound light audio line ceiling shake/Y/ The voiceless sound, solid ceiling audio line shaking/J/(Puttachart 1983)Karen language in some some other voiceless sounds found local does not appear in the language: voiceless sounds using the tongue and the alveolar sounds/Z/sound and steady path voiceless used teeth and lips contour noise shaking sound/V/letter enclosed with sako Karen language to combine the Thai language does not include a brand-new sound/j/, and a voiceless sound cone valve. Audio line as/Y/ฬ-shake ya/phje3/le/Ye2/studying pretty and good, respectively. Features of vowel sounds that are different from the Thai language, is does not have a long-short vowel differences that are significant to a meaningful changes, and there is no composition (Suriya Ratana and 2529 (1986) Committee)Audio tone sounds, structure tone in some of the local Karen Li, sako district lamphun find that looks tone 3 tone sounds in conjunction with the appearance, voice, wind deep inserting low-noise (Breathy) (creaky) and audio compression for audio line (giottalized), the tone of these characteristics. When combined with high volume low causing guides the following guides 6.Transcribing in Word/wa1/"white"High wind guides are inserted in the word "/wa2/" to flap, "he said.Low tone is inserted in the wind, the term/wa3/"husband," he said.Deep low tone in a word/wa4/"to scratch"High tone compressor audio line The term "/wa5/" bamboo, to pass under, "he said.Low tone compressor audio line In/wa6/, the term "round, circle" (55 puttachart; 1983)In addition, Karen used in everyday life. Karen sako mainly speak northern Thai because Karen sako a group with higher education and they developed faster than others (Suriya Ratana and 2529 (1986) Committee)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงสร้างทางสังคม

ภาษา

ภาษกะเหรี่ยงจัดอยู่ในตระกูลภาษจีน-ธิเบต ดังแผนภูมิ



ลักษณะเด่นๆ ของภาษากะเหรี่ยงที่แตกต่างจากภาษาไทย ได้แก่ โครงสร้างพยางค์ เสียงพยัญชนะ และเสียงสระ รวมทั้งเสียงวรรณยุกต์ซึ่งในบางถิ่นจะมีลักษณะน้ำเสียงเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย

โครงสร้างพยางค์ ภาษากะเหรี่ยงสะกอไม่มีพยัญชนะสะกด ในบางถิ่นอาจพบว่ามีพยัญชนะสะกดบ้าง แต่ก็เป็นจำนวนน้อยมาก ด้วยเหตุนี้เมื่อคนกะเหรี่ยงเรียนพูดภาษาไทย จะพบว่ามีปัญหาในการออกเสียงและการได้ยินพยัญชนะสะกดของภาษาไทย เช่นคำว่า “กัก กัด กับ” เป็นต้น

เสียงพยัญชนะและเสียงสระบางเสียง เสียงพยัญชนะของภาษากะเหรี่ยงสะกอที่แตกต่างจากภาษาไทยอย่างเด่นชัด คือเสียงกลุ่มเสียดแทรก ได้แก่ เสียงเสียดแทรกระหว่างฟัน เส้นเสียงไม่สั่น ออกเสียงเหมือนเสียงต้นในภาษาอังกฤษว่า “Think”

เสียงเสียดแทรกที่เพดานอ่อน เส้นเสียงไม่สั่น /X/
เสียงเสียดแทรกที่เพดานอ่อน เส้นเสียงสั่น /Y/
เสียงเสียดแทรกที่เพดานแข็ง เส้นเสียงสั่น /J/ (Puttachart 1983)

ภาษากะเหรี่ยงในบางที่บางถิ่น พบเสียงเสียดแทรกอื่นๆ ที่ไม่ปรากฏในภาษา ได้แก่ เสียงเสียดแทรก ที่ใช้ปลายลิ้น และปุ่มเหงือก เส้นเสียงสั่น /Z/ และมีเสียงเสียดแทรก ที่ใช้ฟันบนและริมฝีปาก เส้นเสียงสั่น /V/ ภาษากะเหรี่ยงสะกอมีพยัญชนะเสียงควบกล้ำ ที่ภาษาไทยไม่มี ได้แก่ เสียง ย/ j/ และเสียงเสียดแทรกที่โคนลิ้น เส้นเสียงสั่น ฬ /Y/ ในคำว่า แพยะ /phje3/ เรียนเก่ง และ เฬ /Ye2/ ดี,สวยตามลำดับ ลักษณะเด่นของเสียงสระที่แตกต่างจากภาษาไทยคือ ไม่มีความแตกต่างของสระสั้นยาวที่นัยสำคัญทำให้คำมีความหมายเปลี่ยนไป และไม่มีสระประสม (สุริยา รัตนกุล และคณะ 2529)

โครงสร้างเสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ในภาษากะเหรี่ยงสะกอบางถิ่น เช่น ที่อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน พบว่ามีลักษณะน้ำเสียง 3 ลักษณะ ปรากฏร่วมกับเสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงลมแทรก (Breathy) เสียงต่ำลึก (creaky) และเสียงบีบเส้นเสียง (giottalized) ลักษณะน้ำเสียงเหล่านี้ เมื่อเกิดร่วมกับระดับเสียงสูงต่ำทำให้เกิดวรรณยุกต์ 6 วรรณยุกต์ ดังต่อไปนี้

วรรณยุกต์กลางในคำว่า /wa1/ “white”
วรรณยุกต์สูงมีลมแทรก ในคำว่า /wa2/ “to flap”
วรรณยุกต์ต่ำมีลมแทรก ในคำว่า /wa3/ “husband”
วรรณยุกต์ต่ำลึก ในคำว่า /wa4/ “to scratch”
วรรณยุกต์สูงบีบเส้นเสียง ในคำว่า /wa5/ “bamboo,to pass under”
วรรณยุกต์ต่ำบีบเส้นเสียง ในคำว่า /wa6/ “round,circle” (puttachart 1983;55)
นอกจากภาษากะเหรี่ยงที่ใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว กะเหรี่ยงสะกอส่วนใหญ่จะพูดภาษาไทยเหนือได้ เนื่องจากกะเหรี่ยงสะกอเป็นกลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่าพวกอื่นและรับการพัฒนาได้เร็วกว่าพวกอื่น (สุริยา รัตนกุล และคณะ 2529)







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Social structure



, Karen language in the Chinese - Tibet as chart



.The characteristics, of the Karen differs from the Thai: syllable structure, sound consonant and vowel, and tone in which some local is the tone component is too

.Syllable structure central Tibetan Languages. No final spell. In some dialects may find that there are final consonants, but they were very low. Hence when Karen people learn to speak English.Like the word "Quarantine Ltd., with" etc.
.
.Consonant vowel and some sound. Consonants of the central Tibetan Languages different from English evidently sound the friction insert including fricative between teeth. The vocal cords do not vibrate."Think"
.The glottal fricative
soft palate. Don't shake / X /
fricative at the soft palate. The vocal cords shaky / Y /
at the palatal fricative. The vocal cords vibrate / J / (Puttachart 1983)

.In some dialects, some Karen found other fricative appears in the language, including voice was inserted using the tip of the tongue) and alveolar. The vocal cords vibrate / Z / and the intervene the teeth and lips. The vocal cords vibrate / V.Thai No: audio / J and fricative at the base of the tongue, the vocal cords vibrate. Whales / Y / in the word that the raft? / phje3 / good study and เฬ. / Ye2 / good,Beautiful, respectively, the feature of vowel sounds different from English. There is no difference between long and short of that word meaning significance to change and no hydraulic (สุริยา ratanakul and faculty of 2529)

.The structure tone In some dialects, such as tone Central Tibetan Languages, Li District Lamphun was found to have a characteristic tone 3 style. Appear with tone is the sound of the wind (insert Breathy) low deep (creaky).(giottalized) characteristics of these tone When you were born, together with a level tone intonation causes 6 tones following
.In the word / wa1
tonal center / "white"
tones in the high wind, insert / wa2 / "to flap" tone, low insertion ในคำ
wind that wa3 / "husband"
tones low deep. In the word / wa4 / "to scratch"
high squeeze in the vocal tone / WA5 / "bamboo to pass, under"
.The low compression in the vocal / wa6 / ", round circle" (puttachart 1983; 55)
.In addition to the Karen used in daily life. Sgaw Karen mainly speak Thai, over. Because the Sgaw Karen group with higher education and other developed faster than the พวกอื่น (Suriya ratanakul et al.






.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: