องค์ประกอบของวรรณคดี องค์ประกอบของวรรณคดีแบ่งออกเป็น5 องค์ประกอบที่สำค การแปล - องค์ประกอบของวรรณคดี องค์ประกอบของวรรณคดีแบ่งออกเป็น5 องค์ประกอบที่สำค อังกฤษ วิธีการพูด

องค์ประกอบของวรรณคดี องค์ประกอบของว

องค์ประกอบของวรรณคดี
องค์ประกอบของวรรณคดีแบ่งออกเป็น5 องค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ แก่นเรื่อง หรือแก่นความคิด (Theme) โครงเรื่อง (Plot) ตัวละคร (Character) ฉากและบรรยากาศ (Setting) มุมมองในการเล่าเรื่อง (Point of view) ซึ่งในแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียด ดังนี้
แก่นเรื่อง หรือแก่นความคิด (Theme)
คือ ความคิดหลักในการดำเนินเรื่องซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการเล่าเรื่องเพื่อให้มีความเข้าใจถึงแก่นความคิดหลักของผู้เล่า อาจเป็นแก่นเรื่องที่เกี่ยวกับความรัก ศีลธรรม เรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ เรื่องอำนาจ เป็นต้น ซึ่งแก่นเรื่องจะมีความแตกต่างกันไปตามโครงสร้างที่ต้องการนำเสนอ
แก่นเรื่องโดยทั่วไปมี 4 ประเภทคือ
1. แก่นเรื่องแสดงทัศนะส่วนมากแก่นเรื่องแบบนี้จะเสนอหรือแสดงทัศนะของผู้เล่าต่อประเด็นทางสังคม การเมือง ศาสนา หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นแก่นเรื่องเพื่อชีวิต
2. แก่นเรื่องแสดงอารมณ์เป็นแก่นเรื่องที่ผู้เล่ามุ่งเน้นแสดงอารมณ์ต่างๆที่สะเทือนใจไม่ว่าจะเป็น สุข เศร้า เหงา ทุกข์ โศก พยาบาท ร่าเริง หวาดกลัว ว้าเหว่ ฯลฯ
3. แก่นเรื่องแสดงพฤติกรรมมุ่งที่แสดงพฤติกรรมในบางแง่มุมหรือทุกแง่มุมของตัวละครเป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมของตัวละครอันเป็นผลมาจากทัศนะคติต่อค่านิยมบางอย่างในสังคมและพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากอารมณ์ของตัวละครเอง
4. แก่นเรื่องแสดงภาพและเหตุการณ์เป็นแก่นเรื่องที่ผู้เล่ามุ่งที่จะแสดงสภาพบางอย่างหรือเหตุการณ์บางเหตุการณ์ในบางช่วงตอนของชีวิตตัวละคร

โครงเรื่อง (Plot)
คือ ลำดับ หรือทิศทางของการดำเนินเรื่อง ที่มีการกำหนดเอาไว้เป็นกรอบของเหตุการณ์ทั้งหมดทั้งหมดในเรื่องที่ดำเนินตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นลำดับเหตุการณ์พฤติกรรมของตัวละคร หรือเป็นการดำเนินกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง โครงเรื่องเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของภาพยนตร์ โดยปกติจะมีการลำดับเหตุการณ์ในการเล่าเรื่องไว้ 5 ขั้นตอน ได้แก่
1. การเริ่มเรื่อง (Exposition)คือ การเล่าเรื่องเป็นการชักจูงความสนใจให้ติดตามเรื่องราว มีการแระนำตัวละคร ฉากหรือสถานที่ อาจมีการเปิดประเด็นปัญหา หรือเผยปมขัดแย้งเพื่อให้เนื้อเรื่องชวนติดตาม การเริ่มเรื่องไม่จำเป็นต้องเรียงตามลำดับเหตุการณ์ อาจเริ่มเรื่องจากตอนกลางเรื่อง หรือย้อนจากตอนท้ายเรื่องไปหาต้นเรื่องก็ได้
2. การพัฒนาเหตุการณ์ (Rising Action) คือการที่เล่าเรื่องราวดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและสมเหตุสมผล ปมปัญหาหรือขัดแย้งเริ่มทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ตัวละครอาจมีความลำบากใจ หรือเกิดสถานการณ์ที่มีความยุ่งยากขึ้นในเรื่อง
3. ภาวะวิกฤติ (Climax) คือ เหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดของเรื่อง จะเกิดขึ้นเมื่อเรื่องราวกำลังถึงจุดแตกหัก และตัวละครอยู่ในสถานการณ์ที่ต้องตัดสินใจ
4. ภาวะคลี่คลาย (FallingAction) คือ สภาพหลังจากที่จุดวิกฤติได้ผ่านพ้นไปแล้วเงื่อนงำและประเด็นปัญหาได้รับการเปิดเผยหรือข้อขัดแย้งได้รับการขจัดออกไป
5. การยุติเรื่องราว (Ending) คือ การสิ้นสุดของเรื่องราวทั้งหมด การจบอาจหมายถึงความสูญเสีย อาจจบแบบมีความสุข หรือทิ้งท้ายไว้ให้ขบคิดก็ได้

ตัวละคร (Character)
คือ ผู้ทำหน้าที่เดินเนื้อหาพาเรื่องราวไปสู่จุดจบของเรื่อง ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งที่เป็นมนุษย์และที่ไม่ใช่มนุษย์ อาจเป็นสัตว์ หรือสิ่งของก็ได้ โดยขึ้นอยู่กับผู้นำเสนอเรื่องต้องการจะนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร นอกจากนี้ยังหมายถึงบุคลิกลักษณะของตัวละคร ไม่ว่าจะเป็นรูปร่างหน้าตา หรืออุปนิสัยใจคอของตัวละครด้วย โดยตัวละครแต่ละตัวจะต้องมีองค์ประกอบ 2 ส่วนเสมอ นั่นคือ ส่วนที่เป็นความคิด (Conception) และส่วนที่เป็นพฤติกรรม (Presentation) ตัวละครในภาพยนตร์จะเป็นออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ ตัวละครเอก ตัวละครร้าย และตัวละครประกอบ มีรายละเอียดดังนี้
ตัวละครเอก (Protagonist) จะเป็นศูนย์กลางของโครงเรื่องของภาพยนตร์ทั้งหมด เพราะเป็นตัวละครที่ร้อยเรื่องราวต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อแสดงให้เห็นแก่นของเรื่อง
ตัวละครร้าย (Antagonist) จะเป็นตัวละคร หรือเป็นสิ่งที่ขู่เข็ญตัวละครเอก และทำให้เกิดความขัดแย้งกับตัวละครเอก ตัวละครร้ายอาจจะเป็นทั้งตัวละครที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือไม่มีชีวิต เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติก็ได้
ตัวละครประกอบ (Subordinate or Minor character ) จะเป็นตัวละครที่มีบทบาทรองลงไปจากตัวละครเอก เป็นตัวละครที่ทำให้เรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวละครเอกเคลื่อนไหวไปสู่จุดหมายปลายทาง ตัวละครประกอบบางตัวอาจมีบทบาทเด่นพอ ๆ กับตัวละครเอกก็ได้ แต่มักจะเป็นฝ่ายตรงกันข้ามกับตัวละครเอก
ลักษณะนิสัยของตัวละคร
สังเกตได้จากการกระทำของตัวละครที่โต้ตอบกับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นจากการพูดคุยกับตัวละครอื่นๆในเรื่อง หรือจากความคิดของตัวละครที่พูดกับตนเอง โดยแย่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
1. ตัวละครแบบมีมิติ (Round Character) เป็นตัวละครที่มีหลากหลายคุณสมบัติและอารมณ์มีจุดเด่นจุดด้อย มีความซับซ้อน และมีการเปลี่ยนแปลง
2. ของพฤติกรรม หรือความคิดหลังจากที่ได้ผ่านเหตุการณ์ต่างๆในเรื่อง เป็นลักษณะของตัวละครที่ค่อนข้างมีความสมจริง
3. ตัวละครแบบแบน (Flat Character) เป็นตัวละครที่บุคลิกไม่ซับซ้อน อาจมีเพียงมิติเดียว มักใช้เป็นลักษณะของตัวละครประกอบที่ไม่สำคัญ
บทบาทหรือบุคลิกภาพของตัวละคร
การกำหนดบทบาทของตัวละครมีอยู่ 2 วิธี คือ
1. ตัวละครที่มีบทบาทคงที่(Static Character)คือตัวละครที่มีบุคลิกคงที่ตลอดเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ ตอนเปิดเรื่องมีลักษณะนิสัยอย่างไร ตอนจบเรื่องก็ยังคงมีลักษณะนิสัยอย่างนั้น
2. ตัวละครที่มีบทบาทไม่คงที่ (Dynamic Character) คือตัวละครที่ปรับเปลี่ยนนิสัย บุคลิกลักษณะ และทัศนคติไปตามประสบการณ์หรือสภาพจิตใจได้เมื่อมีเหตุผลอันสมควร หรืออาจกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า สิ่งแวดล้อมเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้บุคลิกภาพของตัวละครเปลี่ยนแปรไป

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Elements of literature? The elements of the literature is divided into 5. Key elements include a naughty naughty or idea (Theme) storyline (Plot) (Character), character and scene (Setting), the view in the narrative (Point of view), in which each element has the details. Is as follows:Naughty naughty story or idea (Theme) Is the main idea in a story, which is an important element in the story to understand the main ideas of traditional narrative might be naughty story about love, morality, human story about the nature of the powers which the subject will be organising varies according to the structure must be present?Naughty stories, there are 4 common types.1. naughty naughty subject matter expressed in most of these offers or displays in light of those social issues continue to tell. Political, religious, or simple as naughty stories for life.2. naughty naughty mood as the story it tells the various emotions that focuses on non-wrenching sad am lonely misery as happy Merry scary vampire wawe sok, etc.3. naughty story shows the behavior aiming at showing the behavior in some aspect or aspects of the character is important. Whether it is the behavior of the characters as a result of the verdict against certain values in the concepts and behaviors as a result of the emotions of the characters themselves.4. naughty naughty photographs and stories are told that it will show some of the conditions or events, some events in a certain part of the character life.The storyline (the Plot).Is the sequence or direction of a story that has been prescribed as a frame of all events in all matters that proceed from start to finish a series of behaviour or any activity one activity. The storyline is a major element of the movie. Usually, it is the sequence of events in a narrative 5 steps:1. to start the story (Exposition) is a narrative directs attention to track stories. With rae brings a character. Scenes or places may be open issues or disclose the conflict to the clues, and invited subject tracking. To start, the story does not need to be sorted in the event may start the story from the middle or back from the end of the story to the beginning of the story.2. development of events (Rising Action) is that the story progresses continuously and reasonable. Clues to problems or conflicts, start multiple concentrations. The characters may be embarrassment, or a situation in which there are difficulties in this matter.3. crisis (Climax) is the most important event of the story occurs when the stories are broken, and the point is in that situation.4. resolving deficiencies (FallingAction) is the State, after the crisis has passed, and then point clue, and the issue has been disclosed or conflict have been excluded to.5. to stop the story (Ending) is to the end of the whole story. The loss could mean the end of may a happy end or end to pondering.Character (Character)คือ ผู้ทำหน้าที่เดินเนื้อหาพาเรื่องราวไปสู่จุดจบของเรื่อง ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งที่เป็นมนุษย์และที่ไม่ใช่มนุษย์ อาจเป็นสัตว์ หรือสิ่งของก็ได้ โดยขึ้นอยู่กับผู้นำเสนอเรื่องต้องการจะนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร นอกจากนี้ยังหมายถึงบุคลิกลักษณะของตัวละคร ไม่ว่าจะเป็นรูปร่างหน้าตา หรืออุปนิสัยใจคอของตัวละครด้วย โดยตัวละครแต่ละตัวจะต้องมีองค์ประกอบ 2 ส่วนเสมอ นั่นคือ ส่วนที่เป็นความคิด (Conception) และส่วนที่เป็นพฤติกรรม (Presentation) ตัวละครในภาพยนตร์จะเป็นออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ ตัวละครเอก ตัวละครร้าย และตัวละครประกอบ มีรายละเอียดดังนี้ตัวละครเอก (Protagonist) จะเป็นศูนย์กลางของโครงเรื่องของภาพยนตร์ทั้งหมด เพราะเป็นตัวละครที่ร้อยเรื่องราวต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อแสดงให้เห็นแก่นของเรื่อง ตัวละครร้าย (Antagonist) จะเป็นตัวละคร หรือเป็นสิ่งที่ขู่เข็ญตัวละครเอก และทำให้เกิดความขัดแย้งกับตัวละครเอก ตัวละครร้ายอาจจะเป็นทั้งตัวละครที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือไม่มีชีวิต เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติก็ได้ตัวละครประกอบ (Subordinate or Minor character ) จะเป็นตัวละครที่มีบทบาทรองลงไปจากตัวละครเอก เป็นตัวละครที่ทำให้เรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวละครเอกเคลื่อนไหวไปสู่จุดหมายปลายทาง ตัวละครประกอบบางตัวอาจมีบทบาทเด่นพอ ๆ กับตัวละครเอกก็ได้ แต่มักจะเป็นฝ่ายตรงกันข้ามกับตัวละครเอกลักษณะนิสัยของตัวละครสังเกตได้จากการกระทำของตัวละครที่โต้ตอบกับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นจากการพูดคุยกับตัวละครอื่นๆในเรื่อง หรือจากความคิดของตัวละครที่พูดกับตนเอง โดยแย่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่1. ตัวละครแบบมีมิติ (Round Character) เป็นตัวละครที่มีหลากหลายคุณสมบัติและอารมณ์มีจุดเด่นจุดด้อย มีความซับซ้อน และมีการเปลี่ยนแปลง 2. ของพฤติกรรม หรือความคิดหลังจากที่ได้ผ่านเหตุการณ์ต่างๆในเรื่อง เป็นลักษณะของตัวละครที่ค่อนข้างมีความสมจริง3. ตัวละครแบบแบน (Flat Character) เป็นตัวละครที่บุคลิกไม่ซับซ้อน อาจมีเพียงมิติเดียว มักใช้เป็นลักษณะของตัวละครประกอบที่ไม่สำคัญบทบาทหรือบุคลิกภาพของตัวละครการกำหนดบทบาทของตัวละครมีอยู่ 2 วิธี คือ 1. ตัวละครที่มีบทบาทคงที่(Static Character)คือตัวละครที่มีบุคลิกคงที่ตลอดเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ ตอนเปิดเรื่องมีลักษณะนิสัยอย่างไร ตอนจบเรื่องก็ยังคงมีลักษณะนิสัยอย่างนั้น 2. ตัวละครที่มีบทบาทไม่คงที่ (Dynamic Character) คือตัวละครที่ปรับเปลี่ยนนิสัย บุคลิกลักษณะ และทัศนคติไปตามประสบการณ์หรือสภาพจิตใจได้เมื่อมีเหตุผลอันสมควร หรืออาจกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า สิ่งแวดล้อมเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้บุคลิกภาพของตัวละครเปลี่ยนแปรไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Elements of literature
.Elements of literature is divided into 5 important elements, including themes, or the core ideas (Theme) plot (Plot) character. (Character) scene and atmosphere (Setting) point of view (Point of view), in which each element with the details.Themes or core ideas (Theme)
.The main idea is in continuity, which is an important element in the narrative to achieve understanding essentially the main idea of the evaluation. May be the themes of love, morality, about the nature of human being.Etc. This theme will be different according to the desired structure presents a
.Themes are generally 4 categories
1.? Theme show most of the core viewpoint such offer or show the narrator's viewpoint on social issues, politics, religion, or a simple call. That is the core of life
2.Themes expressed emotion is the narrator focuses on themes show emotions such as depression, happy, sad, lonely, suffering, sorrow vindictive. Cheerful, fear, loneliness, etc. 3
.Theme show behavior aiming at acting in some aspects or every aspect of the character is important.4. Theme display images and events as themes that the narrator seeks to show certain conditions or events, some events in the episode of life character

plot. (Plot)
.Is a sequence or the direction of the narration. Is defined as the frame of all the events in the story from the beginning to the end. A sequence of events the behavior of the characters. Is any one activity or activities.Usually there will be a sequence of events in the narrative on the 5 steps
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: