ในปจจุบันไดพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางชัดเจน กลาวคือจากระบบการเลี้ยงแบบพื้นบานปรับเปลี่ยนมาเปนการเลี้ยงแบบการคา หรืออุตสาหกรรมมากขึ้น
การเลี้ยงสุกรต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ โดยเฉพาะเรื่องการจัดการกลิ่นและการจัดการของเสียและน้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมการเลี้ยง ซึ่งการเลี้ยงสุกรมักประสบปัญหาน้ำเสียและกลิ่นเหม็นรบกวนพื้นที่ข้างเคียง ข้อมูลจากกรมปศุสัตว์พบว่าในป 2556 มีจํานวนสุกร ณ วันที่ 1 มกราคม รวมทั้งประเทศ 7.92 ลานตัว และใหปริมาณผลผลิตสุกรรวม 13.07 ลานตัว เพิ่มขึ้นจากปกอนที่มี 12.83 ลานตัว หรือคิดเปนการเพิ่มขึ้น 1.9% และยังคงเพิ่มขึ้นตอเนื่องในระยะ 3 เดือนแรกของป 2557 [1] ดังนั้น ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากฟาร์มสุกรจึงมีแนวโน้มสูงขึ้น
การเลี้ยงสุกรในประเทศไทยมีรูปแบบการเลี้ยงอยู 3 ประเภท ไดแกผูเลี้ยงสุกรรายอิสระ (ประกอบดวยฟารมสุกรที่ผลิตลูกสุกรขุน ฟารมสุกรที่ซื้อลูกสุกรขุนมาเลี้ยงเปนสุกรขุน และฟารมสุกรที่ผลิตลูกสุกรเองและเลี้ยงสุกรขุน) ผูประกอบการสุกรแบบครบวงจรและผูเลี้ยงสุกรพันธะสัญญากับผูประกอบการครบวงจรทั้งแบบรับจางเลี้ยงและแบบประกันราคา