พระราชดำริเมื่อวันที่16 กรกฎาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเ การแปล - พระราชดำริเมื่อวันที่16 กรกฎาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเ อังกฤษ วิธีการพูด

พระราชดำริเมื่อวันที่16 กรกฎาคม 253

พระราชดำริ

เมื่อวันที่16 กรกฎาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี ทั้งนี้เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริกับ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดินเข้ามาร่วมดำเนินการส่วนการดำเนินงานโครงการนั้นอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่าให้ ปลูกแฝก เสริมไปด้วย
ความเป็นมาของโครงการ

บริษัทโดลไทยแลนด์ จำกัดได้เช่าที่ดินโครงจัดการพัฒนาที่ดินหนองพลับ-กลัดหลวง ตามพระราชประสงค์ ระยะเวลาเช่า 20 ปี ซึ่งจะครบกำหนดในเดือนเมษายน 2536 มีพื้นที่ประมาณ 4,794 ไร่ ทางโครงการจัดพัฒนาที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน) ได้พิจารณาว่า หากจะจัดพื้นที่ให้ราษฎรก็มีปัญหาดินเสื่อมโทรม เพราะพื้นที่ดังกล่าวทำการปลูกสับปะรดติดต่อกันมานานถึง 20 ปี จึงเห็นว่าน่าจะนำมาใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่ศึกษาและพัฒนาการฟื้นฟูคุณภาพ ดิน น้ำ ป่าไม้ เป็นการขยายผลการศึกษาจากโครงการพระราชดำริห้วยทราย โครงการ ฯเขาชะงุ้ม และโครงการฯ ห้วยฮ่องไคร้
เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินที่ ศูนย์ ฯ ห้วยทราย อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ นำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้เคยมีพระราชดำริเมื่อปี 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการนี้โดยทั้งนี้ให้พิจารณาพื้นที่ตอนบน ด้วยว่าอาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อโครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง








สภาพความเสื่อมโทรมของดินที่เกิดจากการปลูกสับปะรดติดต่อกันเป็นเวลายาวนานกว่า 20 ปี โดยการขาดมาตรการการอนุรักษ์ดินและน้ำ

หลักการและเหตุผล

จากสภาพปัญหาหน้าดินถูกชะล้างและพัดพาไปจนหมดหรือเกือบหมด เกิดจากการกัดเซาะเป็นร่องน้ำลึกจำนวนมาก ทำให้ดินเสื่อมโทรมอย่างรุนแรง ประกอบกับการใช้สารเคมีติดต่อกัน มายาวนานอาจมีผลตกค้างเป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์เลี้ยง ดังนั้นการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรจึงค่อนข้างลำบาก ต้องลงทุนสูง ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน หากจัดเป็นที่ทำกินให้เกษตรกรก็จะเป็นการสร้างปัญหาแก่เกษตรกร และประเทศชาติไม่มีที่สิ้นสุด จึงสมควรฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมในรูปแบบที่เหมาะสม โดยการปลูกหญ้าแฝกอนุรักษ์ดิน รักษาความชุ่มชื้นควบคู่กับการปลูกป่า และจัดทำเป็นสวนพฤกษศาสตร์อันเป็นการรักษาทรัพยากรที่ดินของประเทศให้นำมาใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและเหมาะสม เป็นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์วิทยา เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาตร์ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7




สภาพหินโผล่บนผิวดิน และการเกิดชั้นดินดาน สาเหตุจากการใช้ประโยชน์จากที่ดินโดยขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ






สภาพการพังทลายแบบร่องลึก (Gully erosion

วัตถุประสงค์

1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ
2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด
3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก
4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล
5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The initiative.เมื่อวันที่16 กรกฎาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระราชดำริที่จะพระราชทานป่าไม้ให้กับปวงชนชาวไทย เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงครองราชย์ได้ 50 ปี ทั้งนี้เพื่อเป็นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ จึงมีพระราชดำริกับ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยให้มูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ร่วมกันดำเนินการปลูกป่าเพื่อพระราชทานให้แก่ประชาชนชาวไทย โดยให้มีหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดินเข้ามาร่วมดำเนินการส่วนการดำเนินงานโครงการนั้นอย่าให้มีผลกระทบกับปัญหาที่ดินทำกินของชาวบ้าน และในพื้นที่โครงการปลูกป่าให้ ปลูกแฝก เสริมไปด้วยความเป็นมาของโครงการ บริษัทโดลไทยแลนด์ จำกัดได้เช่าที่ดินโครงจัดการพัฒนาที่ดินหนองพลับ-กลัดหลวง ตามพระราชประสงค์ ระยะเวลาเช่า 20 ปี ซึ่งจะครบกำหนดในเดือนเมษายน 2536 มีพื้นที่ประมาณ 4,794 ไร่ ทางโครงการจัดพัฒนาที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน) ได้พิจารณาว่า หากจะจัดพื้นที่ให้ราษฎรก็มีปัญหาดินเสื่อมโทรม เพราะพื้นที่ดังกล่าวทำการปลูกสับปะรดติดต่อกันมานานถึง 20 ปี จึงเห็นว่าน่าจะนำมาใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่ศึกษาและพัฒนาการฟื้นฟูคุณภาพ ดิน น้ำ ป่าไม้ เป็นการขยายผลการศึกษาจากโครงการพระราชดำริห้วยทราย โครงการ ฯเขาชะงุ้ม และโครงการฯ ห้วยฮ่องไคร้ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินที่ ศูนย์ ฯ ห้วยทราย อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระราชดำริ นำพื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาหญ้าแฝก ได้ทรงมีพระราชดำริให้กรมป่าไม้ กรมชลประทาน และกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมกันดำเนินการและได้เคยมีพระราชดำริเมื่อปี 2535 ในเรื่องการสร้างอ่างเก็บน้ำห้วยไม้ตาย ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการนี้โดยทั้งนี้ให้พิจารณาพื้นที่ตอนบน ด้วยว่าอาจสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ๆ ได้ ต่อมามูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้พิจารณาเลือกพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ส่วนดังกล่าวเป็นพื้นที่ปลูกป่าพระราชทาน โดยให้ชื่อโครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง สภาพความเสื่อมโทรมของดินที่เกิดจากการปลูกสับปะรดติดต่อกันเป็นเวลายาวนานกว่า 20 ปี โดยการขาดมาตรการการอนุรักษ์ดินและน้ำหลักการและเหตุผล จากสภาพปัญหาหน้าดินถูกชะล้างและพัดพาไปจนหมดหรือเกือบหมด เกิดจากการกัดเซาะเป็นร่องน้ำลึกจำนวนมาก ทำให้ดินเสื่อมโทรมอย่างรุนแรง ประกอบกับการใช้สารเคมีติดต่อกัน มายาวนานอาจมีผลตกค้างเป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์เลี้ยง ดังนั้นการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรจึงค่อนข้างลำบาก ต้องลงทุนสูง ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน หากจัดเป็นที่ทำกินให้เกษตรกรก็จะเป็นการสร้างปัญหาแก่เกษตรกร และประเทศชาติไม่มีที่สิ้นสุด จึงสมควรฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมในรูปแบบที่เหมาะสม โดยการปลูกหญ้าแฝกอนุรักษ์ดิน รักษาความชุ่มชื้นควบคู่กับการปลูกป่า และจัดทำเป็นสวนพฤกษศาสตร์อันเป็นการรักษาทรัพยากรที่ดินของประเทศให้นำมาใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและเหมาะสม เป็นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศน์วิทยา เป็นแหล่งศึกษาด้านพฤกษศาตร์ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 สภาพหินโผล่บนผิวดิน และการเกิดชั้นดินดาน สาเหตุจากการใช้ประโยชน์จากที่ดินโดยขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ สภาพการพังทลายแบบร่องลึก (Gully erosionวัตถุประสงค์ 1. เพื่อการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ให้บังเกิดความสมบูรณ์แก่แผ่นดิน โดยการปลูกป่า และ จัดทำสวนพฤกษศาสตร์ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ ฟื้นฟูคุณภาพดินโดยใช้หญ้าแฝก และ การจัดหาแหล่งน้ำ2. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติและความสำนึกรับผิดชอบที่ดีงามต่อประเทศชาติ ให้กับประชาชนในท้องถิ่น และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโครงการให้มากที่สุด3. เพื่อให้ประชาชนยากไร้ในพื้นที่สามารถหาประโยชน์จากป่าไม้ที่ปลูก4. เพื่อนำผลงานการศึกษา ทดลอง จากศูนย์การศึกษาพัฒนาและโครงการต่าง ๆ ตามพระราชดำริมาขยายผล5. เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับหญ้าแฝกตามพระราชดำริ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: