ตอน Climate Change คืออะไรClimate Change ในภาษาไทยก็คือ การเปลี่ยนแปลง การแปล - ตอน Climate Change คืออะไรClimate Change ในภาษาไทยก็คือ การเปลี่ยนแปลง บาสก์ วิธีการพูด

ตอน Climate Change คืออะไรClimate C

ตอน Climate Change คืออะไร
Climate Change ในภาษาไทยก็คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก็หมายถึงการกระทำใดๆที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนร่วมไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทำให้เกิดการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ อาทิเช่น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นหรือต่ำลง ทิศทางของลมก็เปลี่ยนไป หรือปริมาณของน้ำฝนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในแต่ละพื้นที่
แต่หลายคนก็ยังสับสนว่า Climate change คือสภาวะโลกร้อนหรือปรากฏการณ์เรือนกระจกรึเปล่า
คำตอบคือ ทั้งหมดเกี่ยวข้องกัน ซึ่งปรากฎการณ์เรือนกระจกหมายความว่าโลกของเราในสมัยก่อนสามารถรับรังสีความร้อนและถ่ายออกไปเพื่อสร้างสมดุแต่เมื่อโลกเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม ปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้นซึ่งเกิดจากกิจกรรมใช้พลังงานของมนุษย์ทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีจำนวนสูงขึ้น
โลกของเราจึงมีสภาพเหมือนการปลูกพืชในเขตหนาวซึ่งสามารถรับรังสีความร้อนเข้ามาได้แต่ไม่สามารถคลายความร้อนออกไปได้นั่นสอดคล้องกับความหมายของสภาวะโลกร้ลย์ให้กับสิ่งมีชีวิตได้อนซึ่งหมายความว่า อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นทำให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในพื้นโลก
อย่างนี้เราต้องลดผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศหรือMitigation กันเถอะ
ตอน Mitigation คืออะไร
ในตอนที่แล้วเราได้รู้จักกับ Climate Change ซึ่งส่งผลกระทบต่อโลกมากมาย
นั่นคือสาเหตุว่าทำไมโลกของเราถึงร้อนกว่าแต่ก่อนมาก
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในตอนนี้สูงกว่าเมื่อ 1 พันปีที่แล้วถึง 1 องศาเซลเซียส นั่นทำให้ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าภายใน 100 ปี โลกจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น 2—4 องศาแน่
และเมื่อโลกอุณหภูมิสูงขึ้น ภูเข้าน้ำแข็งก็จะเริ่มละลาย ระดับน้ำทะเลก็จะสูงขึ้น ซึ่งอีก 50-80 ปีข้างหน้าอาจจมกรุงเทพมหานคร บังคลาเทศและประเทศที่เป็นเกาะเล็กๆอย่างมัลดีฟ
ซึ่งความพยายามในการลดผลกระทบของ climate change คือความหมายของ Mitigation
ยกตัวอย่างเช่น การลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การประหยัดพลังงาน การปลูกต้นไม้ดูแลรักษาป่าซึ่งการลดผลกระทบดังกล่าวนี้ เราสามารถทำได้ด้วยตัวเอง โดยการเลือกผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน ปิดทุกครั้งเมื่อไม่ได้ใช้ ดึงปลั๊กทุกครั้งหลังใช้งานและปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม
หรือทางออกที่ไฮโซยิ่งกว่าคือการใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานลมหรือพลังงานแสงอาทิตย์
เรื่องการเดินทางก็เหมือนกัน เลือกใช้เชื้อเพลิงทดแทน เช่น แก๊สโซฮอล์หรือไบโอดีเซลหรือทางออกของคนรุ่นใหม่อย่างจักรยานรวมถึงเลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คิดก่อนใช้และอย่าลืมแยกขยะ
ที่สำคัญเราต้องช่วยกันปลูกต้นไม้เพื่อช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แถมเรายังได้อากาศสดชื่นกลับมาด้วย
นอกจากนี้เรายังต้องรู้จักการปรับตัวให้อยู่ได้กับสภาวะภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปอีกด้วย
ตอน Adaptation คืออะไร
มนุษย์ สัตว์และพืช ล้วนมีความสามารถในการปรับตัวหรือที่เราเรียกว่า adaptation ซึ่งเป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตทำการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ปรับอาการเพื่อให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจากเดิมทำให้สามารถอยู่รอดและดำรงเผ่าพันธุ์ต่อไปได้
แต่เดิมวิถีชีวิตของเราล้วนอิงตามธรรมชาติแต่เมื่อชุมชนพัฒนากลายเป็นเมืองใหญ่ วิถีชีวิตที่สะดวกสบายส่งผลให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างสิ้นเปลืองจนเป็นเหตุให้เกิดปัญหา Climate Change ดังนั้นเราจึงต้องมีการ adaptation เพื่อปรับตัวของเราชุมชนของเราและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆเพื่อรับมือ เช่นเพิ่มขีดความสามารถและลดปัจจัยเสี่ยงของชุมชนเพื่อรับมือกับภัยพิบัติด้วยการทำแก้มลิง การสร้างฝาย สร้างเขื่อนเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้งหรือเพื่อป้องกันน้ำท่วม แต่การปรับตัวจะมีประสิทธิภาพเต็มที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่ในระดับครอบครัว ชุมชนไปจนถึงระดับประเทศ เริ่มจากวิเคราะห์พื้นที่และสภาพแวดล้อมในชุมชนของเราเอง เริ่มจากให้ทุกคนช่วยลดมลพิษมีการฝึกอบรมให้ความรู้พึ่งพาเครื่องปรับอากาศให้น้อยที่สุดหรืออาจจะนำเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย แต่เพื่อเป็นแรงบันดาลใจเรามาลองดูตัวอย่างชุมชนต้นแบบที่ประสบความสำเร็จในการปรับตัว นั่นคือเทศบาลตำบลเมืองแกลง จังหวัดระยอง
ที่นี่กลายเป็นเมืองคาร์บอนต่ำที่ทุกคนช่วยกันลดปริมาณการทิ้งขยะ การแยกขยะประเภทต่างๆ
ส่วนเรื่องการคมนาคม ที่เป็นสาเหตุใหญ่ของก๊าซเรือนกระจก ที่เมืองแกลงเองก็มีการจัดโครงการ ขสมก หรือ ขนส่งเมืองแกลง เพื่อลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วนตัวและยังมีนโยบายการทำเกษตรเมือง เน้นนโยบายการปลูกพอกิน เหลือพอขายเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเติมออกซิเจนให้กับชุมชน ที่นี่เป็นตัวอย่างให้เราเห็นความสามัคคี มีการร่วมมือกันปรับตัวอย่างยั่งยืนและไม่ว่าภัยพิบัติจะเกิดขึ้นในรูปแบบไหน เราก็ต้องพร้อมที่จะตื่นตัว ปรับตัว และรับมือกับมันก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป
เรามาทบทวนกันดีกว่าว่าได้เรียนรู้อะไรกันไปบ้าง
Climate Change คือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ, การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝน
Mitigation คือการป้องกันและลดผลกระทบที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การประหยัดน้ำ การประหยัดไฟ
Adaptation คือการปรับตัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การสร้างบ้านประหยัดพลังงาน
ถ้ารู้ทั้งหมดนี้แล้วเรามาเล่นเกมส์กันเถอะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (บาสก์) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ตอน Climate Change คืออะไร
Climate Change ในภาษาไทยก็คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก็หมายถึงการกระทำใดๆที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนร่วมไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทำให้เกิดการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ อาทิเช่น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นหรือต่ำลง ทิศทางของลมก็เปลี่ยนไป หรือปริมาณของน้ำฝนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในแต่ละพื้นที่
แต่หลายคนก็ยังสับสนว่า Climate change คือสภาวะโลกร้อนหรือปรากฏการณ์เรือนกระจกรึเปล่า
คำตอบคือ ทั้งหมดเกี่ยวข้องกัน ซึ่งปรากฎการณ์เรือนกระจกหมายความว่าโลกของเราในสมัยก่อนสามารถรับรังสีความร้อนและถ่ายออกไปเพื่อสร้างสมดุแต่เมื่อโลกเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม ปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้นซึ่งเกิดจากกิจกรรมใช้พลังงานของมนุษย์ทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีจำนวนสูงขึ้น
โลกของเราจึงมีสภาพเหมือนการปลูกพืชในเขตหนาวซึ่งสามารถรับรังสีความร้อนเข้ามาได้แต่ไม่สามารถคลายความร้อนออกไปได้นั่นสอดคล้องกับความหมายของสภาวะโลกร้ลย์ให้กับสิ่งมีชีวิตได้อนซึ่งหมายความว่า อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นทำให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในพื้นโลก
อย่างนี้เราต้องลดผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศหรือMitigation กันเถอะ
ตอน Mitigation คืออะไร
ในตอนที่แล้วเราได้รู้จักกับ Climate Change ซึ่งส่งผลกระทบต่อโลกมากมาย
นั่นคือสาเหตุว่าทำไมโลกของเราถึงร้อนกว่าแต่ก่อนมาก
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในตอนนี้สูงกว่าเมื่อ 1 พันปีที่แล้วถึง 1 องศาเซลเซียส นั่นทำให้ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าภายใน 100 ปี โลกจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น 2—4 องศาแน่
และเมื่อโลกอุณหภูมิสูงขึ้น ภูเข้าน้ำแข็งก็จะเริ่มละลาย ระดับน้ำทะเลก็จะสูงขึ้น ซึ่งอีก 50-80 ปีข้างหน้าอาจจมกรุงเทพมหานคร บังคลาเทศและประเทศที่เป็นเกาะเล็กๆอย่างมัลดีฟ
ซึ่งความพยายามในการลดผลกระทบของ climate change คือความหมายของ Mitigation
ยกตัวอย่างเช่น การลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การประหยัดพลังงาน การปลูกต้นไม้ดูแลรักษาป่าซึ่งการลดผลกระทบดังกล่าวนี้ เราสามารถทำได้ด้วยตัวเอง โดยการเลือกผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน ปิดทุกครั้งเมื่อไม่ได้ใช้ ดึงปลั๊กทุกครั้งหลังใช้งานและปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม
หรือทางออกที่ไฮโซยิ่งกว่าคือการใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานลมหรือพลังงานแสงอาทิตย์
เรื่องการเดินทางก็เหมือนกัน เลือกใช้เชื้อเพลิงทดแทน เช่น แก๊สโซฮอล์หรือไบโอดีเซลหรือทางออกของคนรุ่นใหม่อย่างจักรยานรวมถึงเลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คิดก่อนใช้และอย่าลืมแยกขยะ
ที่สำคัญเราต้องช่วยกันปลูกต้นไม้เพื่อช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แถมเรายังได้อากาศสดชื่นกลับมาด้วย
นอกจากนี้เรายังต้องรู้จักการปรับตัวให้อยู่ได้กับสภาวะภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปอีกด้วย
ตอน Adaptation คืออะไร
มนุษย์ สัตว์และพืช ล้วนมีความสามารถในการปรับตัวหรือที่เราเรียกว่า adaptation ซึ่งเป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตทำการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ปรับอาการเพื่อให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไปจากเดิมทำให้สามารถอยู่รอดและดำรงเผ่าพันธุ์ต่อไปได้
แต่เดิมวิถีชีวิตของเราล้วนอิงตามธรรมชาติแต่เมื่อชุมชนพัฒนากลายเป็นเมืองใหญ่ วิถีชีวิตที่สะดวกสบายส่งผลให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างสิ้นเปลืองจนเป็นเหตุให้เกิดปัญหา Climate Change ดังนั้นเราจึงต้องมีการ adaptation เพื่อปรับตัวของเราชุมชนของเราและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆเพื่อรับมือ เช่นเพิ่มขีดความสามารถและลดปัจจัยเสี่ยงของชุมชนเพื่อรับมือกับภัยพิบัติด้วยการทำแก้มลิง การสร้างฝาย สร้างเขื่อนเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้งหรือเพื่อป้องกันน้ำท่วม แต่การปรับตัวจะมีประสิทธิภาพเต็มที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่ในระดับครอบครัว ชุมชนไปจนถึงระดับประเทศ เริ่มจากวิเคราะห์พื้นที่และสภาพแวดล้อมในชุมชนของเราเอง เริ่มจากให้ทุกคนช่วยลดมลพิษมีการฝึกอบรมให้ความรู้พึ่งพาเครื่องปรับอากาศให้น้อยที่สุดหรืออาจจะนำเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย แต่เพื่อเป็นแรงบันดาลใจเรามาลองดูตัวอย่างชุมชนต้นแบบที่ประสบความสำเร็จในการปรับตัว นั่นคือเทศบาลตำบลเมืองแกลง จังหวัดระยอง
ที่นี่กลายเป็นเมืองคาร์บอนต่ำที่ทุกคนช่วยกันลดปริมาณการทิ้งขยะ การแยกขยะประเภทต่างๆ
ส่วนเรื่องการคมนาคม ที่เป็นสาเหตุใหญ่ของก๊าซเรือนกระจก ที่เมืองแกลงเองก็มีการจัดโครงการ ขสมก หรือ ขนส่งเมืองแกลง เพื่อลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วนตัวและยังมีนโยบายการทำเกษตรเมือง เน้นนโยบายการปลูกพอกิน เหลือพอขายเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเติมออกซิเจนให้กับชุมชน ที่นี่เป็นตัวอย่างให้เราเห็นความสามัคคี มีการร่วมมือกันปรับตัวอย่างยั่งยืนและไม่ว่าภัยพิบัติจะเกิดขึ้นในรูปแบบไหน เราก็ต้องพร้อมที่จะตื่นตัว ปรับตัว และรับมือกับมันก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป
เรามาทบทวนกันดีกว่าว่าได้เรียนรู้อะไรกันไปบ้าง
Climate Change คือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ, การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝน
Mitigation คือการป้องกันและลดผลกระทบที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การประหยัดน้ำ การประหยัดไฟ
Adaptation คือการปรับตัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น การสร้างบ้านประหยัดพลังงาน
ถ้ารู้ทั้งหมดนี้แล้วเรามาเล่นเกมส์กันเถอะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: