มาลาลา ยูซัฟไซ คือเด็กหญิงชาวปากีสถาน ที่ถูกตาลิบันยิงศีรษะ  เพียงเพรา การแปล - มาลาลา ยูซัฟไซ คือเด็กหญิงชาวปากีสถาน ที่ถูกตาลิบันยิงศีรษะ  เพียงเพรา อังกฤษ วิธีการพูด

มาลาลา ยูซัฟไซ คือเด็กหญิงชาวปากีสถ

มาลาลา ยูซัฟไซ คือเด็กหญิงชาวปากีสถาน ที่ถูกตาลิบันยิงศีรษะ

เพียงเพราะเธออยากไปโรงเรียน

สำหรับเธอแล้ว สิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงโลก และปลดแอกผู้คนจากกรงขังทางความคิดคือการศึกษา ซึ่งทำได้โดย "เด็กหนึ่งคน ครูหนึ่งคน หนังสือหนึ่งเล่ม และปากกาหนึ่งด้าม"

หนังสือเล่มนี้เป็นผลพวงจากความเชื่อของเธอที่ว่า ปากกาสามารถสู้กับปลายกระบอกปืนได้ เธอเขียนเรื่องราวของเธอ และอธิบายความไม่เท่าเทียมของมนุษย์ในปากีสถานให้ผู้คนได้รับรู้ ซึ่งการสร้างความตระหนักรู้ให้กับผู้คนทั่วโลกนี้เอง ที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความพยายามที่จะช่วยเหลือ และยกระดับสังคมในปากีสถาน

ถึงแม้เรื่องราวใน I Am Malala จะเกิดขึ้นในปากีสถาน ซึ่งอาจจะดูไกลตัว แต่ประเด็นความคิดในหนังสือเล่มนี้ ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลย


“หยิบหนังสือของเราและปากกาของเราขึ้นมา มันเป็นสิ่งที่ทรงอานุภาพกว่าอาวุธ เด็กหนึ่งคน ครูหนึ่งคน หนังสือหนึ่งเล่ม และปากกาหนึ่งด้าม สามารถเปลี่ยนโลกนี้ได้”

นี่คือคำกล่าวอันเลื่องชื่อของเด็กหญิงปากีสถาน ต่อหน้าสหประชาชาติ ขณะที่เธออายุครบ 16 ปี เด็กผู้หญิงคนนี้ชื่อว่า “มาลาลา ยูซัฟไซ” เธอเป็นเพียงเด็กหญิงกล้าแสดงออกคนหนึ่งที่รักเรียนและรักการทำกิจกรรม ซึ่งไม่น่าแปลกสำหรับสังคมเสรี แต่เด็กผู้หญิงแบบเธอเป็นเสมือนอาชญากรในสายตาของใครหลายคน ภายในสังคมจารีตอย่างปากีสถาน
ระหว่างที่มาลาลาเดินทางกลับจากโรงเรียนในวันหนึ่ง ตาลิบันจึงยิงศีรษะเธอ เพียงเพราะเธอเป็นเด็กหญิงที่อยากไปโรงเรียน
ใครจะเชื่อว่าแต่เดิม โมฮัมหมัด อาลี จินนาห์ ผู้ก่อตั้งประเทศปากีสถาน ต้องการให้ประเทศแห่งนี้เป็นดินแดนแห่งความอดทนอดกลั้นต่อความแตกต่าง (tolerance) และประกาศเมื่อไม่นานก่อนวันที่ปากีสถานได้รับเอกราชว่า “ทุกคนมีเสรีภาพที่จะนับถือศาสนา หรือลัทธิใดๆ ก็ได้ โดยรัฐไม่มีสิทธิก้าวก่าย” แต่เมื่อมีการเปลี่ยนอำนาจมาสู่มือของเผด็จการอย่างนายพลเซีย อุล-ฮัค ปากีสถานก็กลายเป็นสังคมที่ปิดกั้น โดยเฉพาะต่อผู้หญิง ซึ่งมีคุณค่าเพียงครึ่งเดียวของผู้ชาย ความยุติธรรมเริ่มเลือนหายลงอีกเมื่อตาลิบันเข้ามามีอำนาจ
ตาลิบันนำกฎหมายอิสลามที่เข้มงวดที่สุดเข้ามาใช้ การควบคุมคนให้อยู่ในกำมือทำได้ด้วยกระบอกปืน ผสมกับการล้างสมองด้วยอุดมการณ์ทางศาสนา เพราะคนโง่ย่อมปกครองง่ายกว่าคนฉลาด ดังนั้น การบั่นทอนเรื่องการศึกษาจึงเป็นกลยุทธ์อีกอย่างหนึ่ง บรรดาโรงเรียนจึงถูกวางระเบิด ครูและนักเรียนถูกลอบทำร้าย ประชาชนแสดงความคิดเห็นได้ แต่ต้องเป็นความเห็นที่ไปในทางเดียวกับตาลิบันเท่านั้น ผู้ที่เห็นต่างจะต้องเผชิญกับความตาย
ในสายตาชาวโลก ตาลิบันฉาวโฉ่เรื่องการปฏิบัติต่อผู้หญิง ผู้หญิงมีค่าแทบไม่ต่างจากวัวควาย หน้าที่มีเพียงดูแลบ้านและให้กำเนิดลูกเท่านั้น ตาลิบันบิดเบือนคำสอนของอิสลาม และสั่งห้ามไม่ให้ผู้หญิงไปโรงเรียน ผลของการขาดการศึกษาคืออวิชชา คนที่ไร้การศึกษาอาจถูกชี้นำหรือล้างสมองได้ง่าย ผู้หญิงที่ไร้การศึกษาต้องพึ่งพาผู้ชายไปตลอดชีวิต
แต่สังคมในอุดมคติของเด็กหญิงมาลาลา คือสังคมที่มีเสรีภาพ ทุกคนเท่าเทียมกัน ทุกคนสามารถเปิดปากหรือจรดปลายปากกาแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เพราะเธอเชื่อว่าพระเจ้ามีเหตุผลที่สร้างมนุษย์ขึ้นมาอย่างหลากหลาย และต้องเป็นสังคมที่ปราศจากความรุนแรง
สำหรับเธอ หนทางเดียวที่จะปลดปล่อยผู้คนสู่เสรีภาพได้คือการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นสิ่งทรงพลังที่จะช่วยขจัดความเขลา ความยากจน และความเหลื่อมล้ำในสังคม
การศึกษาไม่ใช่เรื่องของตะวันตกหรือตะวันออก หากแต่เป็นเรื่องของมนุษย์ทุกคน การศึกษาไม่ได้หยุดแค่เพียงป้อนข้อมูลต่างๆ เข้าไปในสมองของนักเรียน แต่ต้องเป็นการศึกษาที่สอนให้คนกล้าตั้งคำถาม กล้าแสดงความคิดเห็น และกล้าแสดงตัวตนของตัวเอง การศึกษาในอุดมคติคือการมีความคิดเชิงวิพากษ์ ดังเช่นมาลาลาและพ่อของเธอ ในเมื่อนักการเมืองล้วนง่อยเปลี้ย “ก็ต้องมีใครสักคนพูดอะไรออกมา”
ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดหนังสือเรื่อง I Am Malala ซึ่งมาลาลา ยูซัฟไซ เป็นผู้เขียนด้วยตัวเอง โดยบอกเล่าเรื่องราวชีวิตและการต่อสู้ของเธอกับพ่อในปากีสถาน ทั้งยังได้นักข่าวดีเด่นอย่างคริสติน่า แลมบ์ เป็นผู้ถ่ายทอดข้อมูลภูมิหลังทางประวัติศาสตร์และการเมืองของประเทศนี้ ทำให้ I Am Malala เป็นหนังสือที่ล้ำลึกหลากมิติยิ่งขึ้น
หนังสือเล่มนี้คือหลักฐานของอานุภาพแห่ง “ปากกา” หนังสือเล่มเดียว ข้อเขียนเรื่องเดียว ทำให้ทั่วโลกรับรู้ถึงความอยุติธรรม ทำให้ชื่อของมาลาลาเป็นที่จดจำ นิตยสาร Forbes จัดให้เธอเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก และเป็นบุคคลอายุน้อยที่สุด ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
“อาวุธ” ของมาลาลามีแสนยานุภาพมากกว่าปืนชนิดใดๆ
ใครว่าปากีสถานเป็นเรื่องไกลตัว ไม่ว่าประเทศไหนบนโลกล้วนมีประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางการเมือง ทุกประเทศล้วนมีพัฒนาการและจุดบอด มนุษย์ทุกหนแห่งล้วนมีความคิดจิตใจไม่ต่างกัน การอ่านเรื่องของคนอื่น จึงเป็นเหมือนกระจกเงาที่สะท้อนตัวตน เพื่อให้เราตรวจสอบตัวเอง
จะเป็นอย่างไรหากเราได้อยู่ในสังคมที่ไร้อคติ สังคมที่ตระหนักว่าการศึกษา เสรีภาพแห่งปัจเจก และความเท่าเทียมสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด!
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มาลาลา ยูซัฟไซ คือเด็กหญิงชาวปากีสถาน ที่ถูกตาลิบันยิงศีรษะ เพียงเพราะเธออยากไปโรงเรียน สำหรับเธอแล้ว สิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงโลก และปลดแอกผู้คนจากกรงขังทางความคิดคือการศึกษา ซึ่งทำได้โดย "เด็กหนึ่งคน ครูหนึ่งคน หนังสือหนึ่งเล่ม และปากกาหนึ่งด้าม" หนังสือเล่มนี้เป็นผลพวงจากความเชื่อของเธอที่ว่า ปากกาสามารถสู้กับปลายกระบอกปืนได้ เธอเขียนเรื่องราวของเธอ และอธิบายความไม่เท่าเทียมของมนุษย์ในปากีสถานให้ผู้คนได้รับรู้ ซึ่งการสร้างความตระหนักรู้ให้กับผู้คนทั่วโลกนี้เอง ที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความพยายามที่จะช่วยเหลือ และยกระดับสังคมในปากีสถาน Even though I Am the story will take place in Pakistan, where Malala may see far away, but the issue of ideas in this book are not even distant subjects. "Our books and pens, a handful of us came up, it was something that more than one child, weapons mass he teachers people one by one these books and pens, can change the world." นี่คือคำกล่าวอันเลื่องชื่อของเด็กหญิงปากีสถาน ต่อหน้าสหประชาชาติ ขณะที่เธออายุครบ 16 ปี เด็กผู้หญิงคนนี้ชื่อว่า “มาลาลา ยูซัฟไซ” เธอเป็นเพียงเด็กหญิงกล้าแสดงออกคนหนึ่งที่รักเรียนและรักการทำกิจกรรม ซึ่งไม่น่าแปลกสำหรับสังคมเสรี แต่เด็กผู้หญิงแบบเธอเป็นเสมือนอาชญากรในสายตาของใครหลายคน ภายในสังคมจารีตอย่างปากีสถาน ระหว่างที่มาลาลาเดินทางกลับจากโรงเรียนในวันหนึ่ง ตาลิบันจึงยิงศีรษะเธอ เพียงเพราะเธอเป็นเด็กหญิงที่อยากไปโรงเรียน ใครจะเชื่อว่าแต่เดิม โมฮัมหมัด อาลี จินนาห์ ผู้ก่อตั้งประเทศปากีสถาน ต้องการให้ประเทศแห่งนี้เป็นดินแดนแห่งความอดทนอดกลั้นต่อความแตกต่าง (tolerance) และประกาศเมื่อไม่นานก่อนวันที่ปากีสถานได้รับเอกราชว่า “ทุกคนมีเสรีภาพที่จะนับถือศาสนา หรือลัทธิใดๆ ก็ได้ โดยรัฐไม่มีสิทธิก้าวก่าย” แต่เมื่อมีการเปลี่ยนอำนาจมาสู่มือของเผด็จการอย่างนายพลเซีย อุล-ฮัค ปากีสถานก็กลายเป็นสังคมที่ปิดกั้น โดยเฉพาะต่อผู้หญิง ซึ่งมีคุณค่าเพียงครึ่งเดียวของผู้ชาย ความยุติธรรมเริ่มเลือนหายลงอีกเมื่อตาลิบันเข้ามามีอำนาจ ตาลิบันนำกฎหมายอิสลามที่เข้มงวดที่สุดเข้ามาใช้ การควบคุมคนให้อยู่ในกำมือทำได้ด้วยกระบอกปืน ผสมกับการล้างสมองด้วยอุดมการณ์ทางศาสนา เพราะคนโง่ย่อมปกครองง่ายกว่าคนฉลาด ดังนั้น การบั่นทอนเรื่องการศึกษาจึงเป็นกลยุทธ์อีกอย่างหนึ่ง บรรดาโรงเรียนจึงถูกวางระเบิด ครูและนักเรียนถูกลอบทำร้าย ประชาชนแสดงความคิดเห็นได้ แต่ต้องเป็นความเห็นที่ไปในทางเดียวกับตาลิบันเท่านั้น ผู้ที่เห็นต่างจะต้องเผชิญกับความตาย
ในสายตาชาวโลก ตาลิบันฉาวโฉ่เรื่องการปฏิบัติต่อผู้หญิง ผู้หญิงมีค่าแทบไม่ต่างจากวัวควาย หน้าที่มีเพียงดูแลบ้านและให้กำเนิดลูกเท่านั้น ตาลิบันบิดเบือนคำสอนของอิสลาม และสั่งห้ามไม่ให้ผู้หญิงไปโรงเรียน ผลของการขาดการศึกษาคืออวิชชา คนที่ไร้การศึกษาอาจถูกชี้นำหรือล้างสมองได้ง่าย ผู้หญิงที่ไร้การศึกษาต้องพึ่งพาผู้ชายไปตลอดชีวิต
แต่สังคมในอุดมคติของเด็กหญิงมาลาลา คือสังคมที่มีเสรีภาพ ทุกคนเท่าเทียมกัน ทุกคนสามารถเปิดปากหรือจรดปลายปากกาแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เพราะเธอเชื่อว่าพระเจ้ามีเหตุผลที่สร้างมนุษย์ขึ้นมาอย่างหลากหลาย และต้องเป็นสังคมที่ปราศจากความรุนแรง
สำหรับเธอ หนทางเดียวที่จะปลดปล่อยผู้คนสู่เสรีภาพได้คือการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นสิ่งทรงพลังที่จะช่วยขจัดความเขลา ความยากจน และความเหลื่อมล้ำในสังคม
การศึกษาไม่ใช่เรื่องของตะวันตกหรือตะวันออก หากแต่เป็นเรื่องของมนุษย์ทุกคน การศึกษาไม่ได้หยุดแค่เพียงป้อนข้อมูลต่างๆ เข้าไปในสมองของนักเรียน แต่ต้องเป็นการศึกษาที่สอนให้คนกล้าตั้งคำถาม กล้าแสดงความคิดเห็น และกล้าแสดงตัวตนของตัวเอง การศึกษาในอุดมคติคือการมีความคิดเชิงวิพากษ์ ดังเช่นมาลาลาและพ่อของเธอ ในเมื่อนักการเมืองล้วนง่อยเปลี้ย “ก็ต้องมีใครสักคนพูดอะไรออกมา”
ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดหนังสือเรื่อง I Am Malala ซึ่งมาลาลา ยูซัฟไซ เป็นผู้เขียนด้วยตัวเอง โดยบอกเล่าเรื่องราวชีวิตและการต่อสู้ของเธอกับพ่อในปากีสถาน ทั้งยังได้นักข่าวดีเด่นอย่างคริสติน่า แลมบ์ เป็นผู้ถ่ายทอดข้อมูลภูมิหลังทางประวัติศาสตร์และการเมืองของประเทศนี้ ทำให้ I Am Malala เป็นหนังสือที่ล้ำลึกหลากมิติยิ่งขึ้น
หนังสือเล่มนี้คือหลักฐานของอานุภาพแห่ง “ปากกา” หนังสือเล่มเดียว ข้อเขียนเรื่องเดียว ทำให้ทั่วโลกรับรู้ถึงความอยุติธรรม ทำให้ชื่อของมาลาลาเป็นที่จดจำ นิตยสาร Forbes จัดให้เธอเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก และเป็นบุคคลอายุน้อยที่สุด ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
“อาวุธ” ของมาลาลามีแสนยานุภาพมากกว่าปืนชนิดใดๆ
ใครว่าปากีสถานเป็นเรื่องไกลตัว ไม่ว่าประเทศไหนบนโลกล้วนมีประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางการเมือง ทุกประเทศล้วนมีพัฒนาการและจุดบอด มนุษย์ทุกหนแห่งล้วนมีความคิดจิตใจไม่ต่างกัน การอ่านเรื่องของคนอื่น จึงเป็นเหมือนกระจกเงาที่สะท้อนตัวตน เพื่อให้เราตรวจสอบตัวเอง
จะเป็นอย่างไรหากเราได้อยู่ในสังคมที่ไร้อคติ สังคมที่ตระหนักว่าการศึกษา เสรีภาพแห่งปัจเจก และความเท่าเทียมสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด!
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Malala Yu Suffolk CY is Pakistani girl who was shot in the head abroad

just because you want to go to school!For you, what will change the world. And liberate people from the cage of thought is education, which was done by "one people, one teacher, book one book and pen, one handle"

.This book is a consequence of her belief that The pen can fight under duress. She wrote her story. And the men of humans in Pakistan people to get to know.To help promote the efforts to help. And promote the society in Pakistan
.Although the story in I
Am Malala will happen in Pakistan, which could see far. But the idea of comic books, this book is not far to go!

."Pick up our books and pens in our. It is a powerful thing than weapons, one child, I one person, one book, and กาหนึ่ง handle can change the world. "

.This is the famous speech of Pakistani girl UN. As she turned 16 years. This girl named "La Mala Yu Tsai. "You're the only girl Suffolk assertive who love study and love making activities.But the little girl, she is in the eyes of many virtual criminals Within the tradition, as Pakistan
.The Lala travel home from school one day, Taliban he shot her head. Just because she is a girl who wants to go to school!Who would believe that originally, Mohammed Ali Jinnah, the founder of Pakistan. Want to make this country is a land of tolerance to differences (tolerance) and announced the day before เมื่อไม่นาน Pakistan gained independence.Or any religion by the state had no right to interfere. " But when a change of power to the hand of the dictator General Zia ul -, Hak Pakistan became a society that block, especially for women. Which is only half a man.Taliban the strictest Islamic law to use. Control in the hands of people do with the barrel of a gun. Mix with a brainwashed by ideology of religion. Because a fool will rule than clever. So.The school was the bomb. Teachers and students were ambushed. The public comment. But it is a way of with the Taliban. Those who see all will be faced with death
.In the eyes of the world. The Taliban notorious for treatment of women. The woman is hardly different from cattle. Duty is only taking care of the house and give birth to a child. Taliban distort the teachings of Islam. And the forbidden women to go to school.Uneducated may be guided or brainwashed easily. A ignorant rely on men for the rest of my life!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: