เพื่อเร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม และการพัฒนาวัฒน การแปล - เพื่อเร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม และการพัฒนาวัฒน อังกฤษ วิธีการพูด

เพื่อเร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ค

เพื่อเร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม และการพัฒนาวัฒนธรรมของภูมิภาค โดยความเพียรพยายามร่วมกัน ด้วยเจตนารมณ์แห่งความเสมอภาคและความร่วมมือร่วมใจ ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างรากฐานสำหรับสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นประชาคมที่มีความเจริญรุ่งเรืองและสันติสุขส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค โดยเคารพในความยุติธรรมและหลักแห่งเนติธรรมอย่างแน่วแน่ ในการดำเนินการสัมพันธ์ระหว่างบรรดาประเทศในภูมิภาค และยึดมั่นในหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติส่งเสริมให้มีความร่วมมืออย่างจริงจังและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริหาร

จัดให้มีความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝึกอบรม การวิจัยในด้านการศึกษาวิชาชีพ วิชาการ และการบริหารร่วมมือกันให้ได้ประโยชน์มากขึ้นในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และขยายการค้าระหว่างกัน รวมทั้งการศึกษาปัญหาการค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ การปรับปรุงระบบการขนส่งและคมนาคมระหว่างกัน ตลอดจนยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนของตนส่งเสริมการศึกษา โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นที่กว้างขวางธำรงไว้ซึ่งความร่วมมืออย่างใกล้ชิด และมีคุณประโยชน์กับองค์การระหว่างประเทศและองค์การส่วนภูมิภาค ที่มีจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์คล้ายคลึงและสอดคล้องกัน รวมทั้งแสวงหาลู่ทางที่จะให้มีความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิก ทั้งนี้ ได้มีการจัดตั้งกลไกเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามจุดมุ่งหมายดังกล่าว ดังนี้

การประชุมประจำปีของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศซึ่งจะหมุนเวียนกันไปและเรียกว่า การประชุมรัฐมนตรีสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การประชุมพิเศษของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งอาจมีขึ้นตามความจำเป็นคณะกรรมการประจำ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศเจ้าภาพหรือผู้แทนเป็นประธาน และมีสมาชิกประกอบด้วย เอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอื่นที่ประจำอยู่ในประเทศนั้นเป็นผู้ดำเนินการในระยะเวลาระหว่างการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแต่ละครั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และคณะกรรมการถาวร ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ในแต่ละเรื่องสำนักงานเลขาธิการแห่งชาติในแต่ละประเทศสมาชิก เพื่อดำเนินงานของสมาคมในนามของประเทศนั้นและเพื่อให้การบริการแก่การประชุมประจำปี หรือการประชุมพิเศษของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คณะกรรมการประจำและคณะกรรมการอื่นๆ ซึ่งอาจจัดตั้งขึ้นภายหลัง

หลังจากดำเนินงานมาได้ระยะหนึ่ง อาเซียนเริ่มประสบปัญหาบางประการ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ชาติสมาชิกทุ่มเทความสนใจและเวลาส่วนใหญ่ไปกับการแก้ไขข้อพิพาทต่อกันจนละเลยความร่วมมือด้านอื่น อีกส่วนหนึ่งเกิดจากปัญหาด้านโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของสมาคม เช่น ปัญหาการซ้ำซ้อนของระบบงาน ปัญหาด้านบุคลากร เป็นต้น ซึ่งในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรก พ.ศ. 2519 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ประชุมได้มีปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) ระบุไว้ว่า อาเซียนจะจัดให้มีการพัฒนากลไกของอาเซียน เพื่อกระชับความร่วมมือทางการเมืองของอาเซียนให้เข้มแข็งขึ้นและยังระบุให้มีการลงนามความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานเลขานุการอาเซียน ซึ่งอินโดนีเซียรับเป็นเจ้าภาพจัดหาสถานที่ ณ กรุงจาการ์ตา ให้เป็นที่ทำการถาวร รวมทั้งให้มีการทบทวนโครงสร้างของอาเซียนเป็นระยะ เพื่อจะปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ภายหลังการปรับปรุงโครงสร้างอาเซียนพบว่ามีส่วนกระตุ้นให้สมาชิกสนใจต่อกิจกรรมและบทบาทของอาเซียนมากขึ้นอย่างชัดเจน

อย่างไรก็ตาม ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นำอาเซียนได้เห็นชอบลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพื่อประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายใน พ.ศ. 2563 ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก

ได้แก่

1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-APSC)
มุ่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง เพื่อเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข สามารถแก้ปัญหาและความขัดแย้งโดยสันติวิธี
อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งมีเป้าหมายหลัก ได้แก่ มีกฎกติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน มีความสงบสุข มีความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน และมีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC)
มีเป้าหมายให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
แผนงานบูรณาการการดำเนินงานในด้านเศรษฐกิจมีเป้าหมายหลัก ได้แก่ เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และสามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC)
มุ่งประโยชน์จากการรวมตัวกันทำให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีความรู้สึกอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้านภายใต้สังคมและวัฒนธรรมที่ครอบคลุมหลายด้าน ได้แก่ เยาวชน การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สตรีและแรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา วัฒนธรรมและสารสนเทศ กิจการพลเรือน การจัดการภัยพิบัติ และสิทธิมนุษยชน


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
To accelerate the economic growth Social progress, and cultural development of the region by a perseverance spirit properties shared equality and mutual cooperation, to strengthen the foundations for the society of Nations in Southeast Asia, with a modicum of civilization to dawn เรื.And peace to promote peace and stability in the region, by respecting Justice and the main magnetic fairly firmly planted. In operation, the relationships between countries in the region and adherence to the principles of the Charter of the United Nations to promote cooperation, serious and mutual assistance. In matters where there is mutual benefit in the economy. Cultural and social sciences and managementจัดให้มีความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝึกอบรม การวิจัยในด้านการศึกษาวิชาชีพ วิชาการ และการบริหารร่วมมือกันให้ได้ประโยชน์มากขึ้นในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และขยายการค้าระหว่างกัน รวมทั้งการศึกษาปัญหาการค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ การปรับปรุงระบบการขนส่งและคมนาคมระหว่างกัน ตลอดจนยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนของตนส่งเสริมการศึกษา โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นที่กว้างขวางธำรงไว้ซึ่งความร่วมมืออย่างใกล้ชิด และมีคุณประโยชน์กับองค์การระหว่างประเทศและองค์การส่วนภูมิภาค ที่มีจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์คล้ายคลึงและสอดคล้องกัน รวมทั้งแสวงหาลู่ทางที่จะให้มีความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิก ทั้งนี้ ได้มีการจัดตั้งกลไกเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามจุดมุ่งหมายดังกล่าว ดังนี้การประชุมประจำปีของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศซึ่งจะหมุนเวียนกันไปและเรียกว่า การประชุมรัฐมนตรีสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การประชุมพิเศษของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งอาจมีขึ้นตามความจำเป็นคณะกรรมการประจำ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศเจ้าภาพหรือผู้แทนเป็นประธาน และมีสมาชิกประกอบด้วย เอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอื่นที่ประจำอยู่ในประเทศนั้นเป็นผู้ดำเนินการในระยะเวลาระหว่างการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแต่ละครั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และคณะกรรมการถาวร ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ในแต่ละเรื่องสำนักงานเลขาธิการแห่งชาติในแต่ละประเทศสมาชิก เพื่อดำเนินงานของสมาคมในนามของประเทศนั้นและเพื่อให้การบริการแก่การประชุมประจำปี หรือการประชุมพิเศษของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คณะกรรมการประจำและคณะกรรมการอื่นๆ ซึ่งอาจจัดตั้งขึ้นภายหลัง
หลังจากดำเนินงานมาได้ระยะหนึ่ง อาเซียนเริ่มประสบปัญหาบางประการ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ชาติสมาชิกทุ่มเทความสนใจและเวลาส่วนใหญ่ไปกับการแก้ไขข้อพิพาทต่อกันจนละเลยความร่วมมือด้านอื่น อีกส่วนหนึ่งเกิดจากปัญหาด้านโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของสมาคม เช่น ปัญหาการซ้ำซ้อนของระบบงาน ปัญหาด้านบุคลากร เป็นต้น ซึ่งในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรก พ.ศ. 2519 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ประชุมได้มีปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) ระบุไว้ว่า อาเซียนจะจัดให้มีการพัฒนากลไกของอาเซียน เพื่อกระชับความร่วมมือทางการเมืองของอาเซียนให้เข้มแข็งขึ้นและยังระบุให้มีการลงนามความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานเลขานุการอาเซียน ซึ่งอินโดนีเซียรับเป็นเจ้าภาพจัดหาสถานที่ ณ กรุงจาการ์ตา ให้เป็นที่ทำการถาวร รวมทั้งให้มีการทบทวนโครงสร้างของอาเซียนเป็นระยะ เพื่อจะปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ภายหลังการปรับปรุงโครงสร้างอาเซียนพบว่ามีส่วนกระตุ้นให้สมาชิกสนใจต่อกิจกรรมและบทบาทของอาเซียนมากขึ้นอย่างชัดเจน

อย่างไรก็ตาม ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นำอาเซียนได้เห็นชอบลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพื่อประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายใน พ.ศ. 2563 ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก

ได้แก่

1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-APSC)
มุ่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง เพื่อเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข สามารถแก้ปัญหาและความขัดแย้งโดยสันติวิธี
อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งมีเป้าหมายหลัก ได้แก่ มีกฎกติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน มีความสงบสุข มีความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน และมีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC)
มีเป้าหมายให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
แผนงานบูรณาการการดำเนินงานในด้านเศรษฐกิจมีเป้าหมายหลัก ได้แก่ เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และสามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC)
มุ่งประโยชน์จากการรวมตัวกันทำให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีความรู้สึกอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้านภายใต้สังคมและวัฒนธรรมที่ครอบคลุมหลายด้าน ได้แก่ เยาวชน การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สตรีและแรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา วัฒนธรรมและสารสนเทศ กิจการพลเรือน การจัดการภัยพิบัติ และสิทธิมนุษยชน


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
To accelerate economic growth Social progress And cultural development of the region The painstaking effort With the spirit of equality and cooperation so as to strengthen the foundation for the Association of Southeast Asian Nations as a community with peace, prosperity and promoting peace and stability in the region. By respecting the principles of justice and fairness Natick unwavering. In operation between all countries in the region. And adherence to the principles of the UN Charter to promote the active participation and mutual assistance. In that regard, there are mutual benefits in terms of economy. Social and cultural, academic and scientific management

provide mutual assistance in the form of training. Research in the field of vocational, technical and administrative cooperation to be more useful in the field of agriculture, industry and expanding trade. Including the issue of international commodity trade. Improving transport and communication between them. As well as raising the standard of living of its people, promotes education. In particular, the study of Southeast Asia to maintain extensive cooperation closely. And contributing to international and regional organizations. The aims and objectives are similar and consistent. As well as seek ways to cooperate more closely in the Member States have established a mechanism to ensure the implementation of the aforementioned purpose. The

annual meeting of the Minister of Foreign Affairs, which will rotate and called. Meeting of Ministers of the Association of Southeast Asian Nations. Special Meeting of the Minister of Foreign Affairs. This could take place as needed Committee. The Minister of Foreign Affairs of the host country or the president. And consists Ambassador of members who are based in that country was carried out in the period between the Minister of Foreign Affairs of each specific committees. And the Permanent Committee Composed of experts and officials in the office of Secretary of State in each Member State. The implementation of the Association on behalf of that country and to make available to the Annual Meeting. Or special meeting of the Minister of Foreign Affairs. Committee and other committees. This could be incorporated later

after operating for some time. ASEAN began experiencing some problems This is due to the members dedicated most of his attention and time to resolve the dispute as well as neglect of other areas of cooperation. Partly caused by structural problems that are not consistent with the goals and objectives of the association, such as the duplication of work. Personnel issues, etc. In 2519, the first ASEAN Summit in Bali, Indonesia. The meeting with the ASEAN Charter Reconciliation (Declaration of ASEAN Concord) stated that ASEAN would provide a mechanism for the development of ASEAN. To intensify political cooperation of ASEAN to strengthen and to provide for the signing of the Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat. Indonesia, which hosted supply facility in Jakarta for a permanent post. Including a review of the structure of a region. In order to improve the efficiency of operations. After the restructuring, the ASEAN members are urged to pay attention to the activities and role of ASEAN more clearly

, however. In the 9th ASEAN Summit during 7-8 October 2546 in Bali, Indonesia. ASEAN leaders have agreed the signing of the ASEAN Declaration on Cooperation No. 2 (Declaration of ASEAN Concord II or the Bali Concord II) to announce the establishment of the ASEAN (ASEAN Community) in 2563, which consists of three pillars

, namely

1. . Political-Security Community, the ASEAN (ASEAN Political-Security. Community-APSC)
promote cooperation in politics and security. To strengthen and maintain peace and stability of the region. The countries in the region to live together in peace. Can resolve the conflict by peaceful means and
ASEAN plan to establish the ASEAN Political-Security Community. The main targets are the basic rules are the shared values of peace is a shared responsibility in maintaining stability. For the comprehensive all-round way. The dynamics and interaction with countries outside ASEAN
two. AEC (ASEAN Economic Community-AEC)
, ASEAN is aiming to have a single market and production base. The movement of goods, services, investment, capital and skilled labor to liberalization
roadmap integration operation in the economic field goals, including a single market and production base. Have the ability to compete economically. The development of economic equality. And can be integrated into the global economy,
3. ASEAN Socio-Cultural Community (ASEAN Socio-Cultural. Community-ASCC)
to benefit from the incorporation to the public welfare. Free from sickness A good environment And there is a feeling agreeably. The cooperation under the specific social and cultural cover several areas, including youth education, human resource development, science and technology, health, environment, women and labor. Poverty eradication Social Welfare and Development Culture and Information civil Affairs Disaster Management And human rights


การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: