การวิจัยเรื่อง การปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธ การแปล - การวิจัยเรื่อง การปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธ อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยเรื่อง การปรับปรุงกระบวนการ

การวิจัยเรื่อง การปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ ของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรกเพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ และประการที่สองเพื่อประเมินผลความเหมาะสมของกระบวนการปฏิบัติงานบริหารติดตามประเมินผลโครงการที่ออกแบบใหม่ การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ของวีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล ผนวกกับเรนเมกเกอร์ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผน จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจำแนกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรก คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม ประเภทที่สอง คือ เครื่องมือคุณภาพที่ใช้ออกแบบกระบวนการ ประกอบด้วย ผังกระบวนการบริหารงานที่มีคุณภาพ (Quality Business Process) ผังกระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ (Quality Work Procedure) รวมถึงการกำหนดดัชนีวัดคุณภาพของกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ
ผลการวิจัย สรุปได้ว่าการปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ ของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีกระบวนการปฏิบัติงาน 4 กระบวนการ คือ
กระบวนการที่ 1 การวางแผน ประกอบด้วย 6 กิจกรรม ได้แก่ 1.จัดทำแผนปฏิบัติราชการ2. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 3. จัดทำนโยบายการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 4. มอบหมายตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ของสำนักงบประมาณ 5. จัดทำแผนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 6. จัดประชุมสร้างความรู้การบริหารติดตามประเมินผลโครงการ
กระบวนการที่ 2 การดำเนินงาน ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1.จัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเพื่อรายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการตามตัวบ่งชี้รายเดือน รายไตรมาส 2. จัดทำรายงานการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 3.รวบรวม วิเคราะห์ รายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ
กระบวนการที่ 3 การตรวจสอบ ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1. กิจกรรมตรวจสอบผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย 2. กิจกรรมรายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการแก่คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อให้มาตรการ/นโยบายในการดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้และเป้าหมาย และ 3.กิจกรรมเผยแพร่รายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบของสำนักงบประมาณ รายเดือน รายไตรมาส
กระบวนการที่ 4 การปรับปรุง ประกอบด้วยกิจกรรม 2 กิจกรรมคือ 1.จัดทำประกาศนโยบายการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ และ 2. นำมาตรการบริหารติดตามประเมินผล ผลการดำเนินงานมาปรับปรุงแผนการจัดโครงการ
ผลการประเมินความเหมาะสมของกระบวนการที่ออกแบบใหม่ ของผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผน ตามความเห็นของผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผนของมหาวิทยาลัย มีมติเป็นเอกฉันท์ว่า กระบวนการปฏิบัติงานบริหารติดตามประเมินผลโครงการที่ออกแบบใหม่มีความเหมาะสมทั้ง 4 ประการ คือ 1) ความเหมาะสมของกระบวนการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน 2) ความเหมาะสมของกิจกรรมการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน 3) ความเหมาะสมของดัชนีวัดคุณภาพของกระบวนการปฏิบัติงาน 4) ความเหมาะสมของการนำไปใช้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The research about improving the management evaluation projects by way of designing new processes, policy and Planning Division. Phra Nakhon SI Ayutthaya rajabhat University. There are two objectives: firstly, to improve the management, evaluation of projects, policies and plans. Phra Nakhon SI Ayutthaya rajabhat University. By means of a new process design, and secondly to assess the suitability of the process evaluation management practice projects that the new design. This research uses a new process design method of appending the term hero to American currency, highly unofficial rumor Parker is a research methodology the research workshop. There are 2 groups of information providers group is a group of 3 people and a number of experts, groups of workers policy and Planning Division. The number of 12 people, a tool used in the research is the first category 2 classification is a tool that is used to collect information such as the query type, the second is a quality tool that uses the design process consists of the process of quality management (Quality Business Process), the process of implementation of quality (Quality Work Procedure), including defining indicators measuring the quality of activities. Analyze data by frequency distribution per cent ผลการวิจัย สรุปได้ว่าการปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ ของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีกระบวนการปฏิบัติงาน 4 กระบวนการ คือ กระบวนการที่ 1 การวางแผน ประกอบด้วย 6 กิจกรรม ได้แก่ 1.จัดทำแผนปฏิบัติราชการ2. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 3. จัดทำนโยบายการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 4. มอบหมายตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ของสำนักงบประมาณ 5. จัดทำแผนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 6. จัดประชุมสร้างความรู้การบริหารติดตามประเมินผลโครงการ กระบวนการที่ 2 การดำเนินงาน ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1.จัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเพื่อรายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการตามตัวบ่งชี้รายเดือน รายไตรมาส 2. จัดทำรายงานการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 3.รวบรวม วิเคราะห์ รายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ
กระบวนการที่ 3 การตรวจสอบ ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1. กิจกรรมตรวจสอบผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย 2. กิจกรรมรายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการแก่คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อให้มาตรการ/นโยบายในการดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้และเป้าหมาย และ 3.กิจกรรมเผยแพร่รายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบของสำนักงบประมาณ รายเดือน รายไตรมาส
กระบวนการที่ 4 การปรับปรุง ประกอบด้วยกิจกรรม 2 กิจกรรมคือ 1.จัดทำประกาศนโยบายการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ และ 2. นำมาตรการบริหารติดตามประเมินผล ผลการดำเนินงานมาปรับปรุงแผนการจัดโครงการ
ผลการประเมินความเหมาะสมของกระบวนการที่ออกแบบใหม่ ของผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผน ตามความเห็นของผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผนของมหาวิทยาลัย มีมติเป็นเอกฉันท์ว่า กระบวนการปฏิบัติงานบริหารติดตามประเมินผลโครงการที่ออกแบบใหม่มีความเหมาะสมทั้ง 4 ประการ คือ 1) ความเหมาะสมของกระบวนการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน 2) ความเหมาะสมของกิจกรรมการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน 3) ความเหมาะสมของดัชนีวัดคุณภาพของกระบวนการปฏิบัติงาน 4) ความเหมาะสมของการนำไปใช้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยเรื่อง การปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ ของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรกเพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ และประการที่สองเพื่อประเมินผลความเหมาะสมของกระบวนการปฏิบัติงานบริหารติดตามประเมินผลโครงการที่ออกแบบใหม่ การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ของวีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล ผนวกกับเรนเมกเกอร์ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผน จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจำแนกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรก คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม ประเภทที่สอง คือ เครื่องมือคุณภาพที่ใช้ออกแบบกระบวนการ ประกอบด้วย ผังกระบวนการบริหารงานที่มีคุณภาพ (Quality Business Process) ผังกระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ (Quality Work Procedure) รวมถึงการกำหนดดัชนีวัดคุณภาพของกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ
ผลการวิจัย สรุปได้ว่าการปรับปรุงกระบวนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ โดยวิธีการออกแบบกระบวนการใหม่ ของกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีกระบวนการปฏิบัติงาน 4 กระบวนการ คือ
กระบวนการที่ 1 การวางแผน ประกอบด้วย 6 กิจกรรม ได้แก่ 1.จัดทำแผนปฏิบัติราชการ2. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 3. จัดทำนโยบายการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 4. มอบหมายตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ของสำนักงบประมาณ 5. จัดทำแผนการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 6. จัดประชุมสร้างความรู้การบริหารติดตามประเมินผลโครงการ
กระบวนการที่ 2 การดำเนินงาน ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1.จัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเพื่อรายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการตามตัวบ่งชี้รายเดือน รายไตรมาส 2. จัดทำรายงานการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ 3.รวบรวม วิเคราะห์ รายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ
กระบวนการที่ 3 การตรวจสอบ ประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1. กิจกรรมตรวจสอบผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย 2. กิจกรรมรายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการแก่คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อให้มาตรการ/นโยบายในการดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้และเป้าหมาย และ 3.กิจกรรมเผยแพร่รายงานผลการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบของสำนักงบประมาณ รายเดือน รายไตรมาส
กระบวนการที่ 4 การปรับปรุง ประกอบด้วยกิจกรรม 2 กิจกรรมคือ 1.จัดทำประกาศนโยบายการบริหารติดตามประเมินผลโครงการ และ 2. นำมาตรการบริหารติดตามประเมินผล ผลการดำเนินงานมาปรับปรุงแผนการจัดโครงการ
ผลการประเมินความเหมาะสมของกระบวนการที่ออกแบบใหม่ ของผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผน ตามความเห็นของผู้ปฏิบัติงานกองนโยบายและแผนของมหาวิทยาลัย มีมติเป็นเอกฉันท์ว่า กระบวนการปฏิบัติงานบริหารติดตามประเมินผลโครงการที่ออกแบบใหม่มีความเหมาะสมทั้ง 4 ประการ คือ 1) ความเหมาะสมของกระบวนการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน 2) ความเหมาะสมของกิจกรรมการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน 3) ความเหมาะสมของดัชนีวัดคุณภาพของกระบวนการปฏิบัติงาน 4) ความเหมาะสมของการนำไปใช้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The research of Improvement of process management evaluation project. The design method of a new process. The policy and planning, Si Ayutthaya Rajabhat University, there were two folds.Ayutthaya Rajabhat University The design method of a new process. And secondly, to evaluate the suitability of the working process management evaluation project that a new design.Rumors Prasit genera. Combined with Rainmaker research action research group with the information of 2 groups by experts. The 3 people and working group policy and Planning Division of 12 people.2 types. The first type is used in data collection, questionnaire, the second category is the quality tools used to design the process. Layout management process consists of quality (Quality Business Process).(Quality Work Procedure) includes determining the indexes of activities. The data were analyzed by using frequency
.The results revealed that the process of management of project evaluation. The design method of a new process. The policy and planning, Si Ayutthaya Rajabhat University, working process 4 procedure, it is
.The process 1 planning consists of 6 activities including 1. Plan in the government 2.? Appoint the project evaluation 3. Establishing the management policy evaluation of the project 4.Assigned indicator, the goal of the Bureau of the budget 5. Management plan project evaluation conference 6. Knowledge management project evaluation
. The process 2 operation consists of 3 activities including 1.Data storage and data management to report project evaluation indicators, monthly, quarterly 2. Report of project evaluation 3.Collect, analyze, report of project evaluation process 3
inspection contain 3 activities including 1. Monitor activity with the goal 2 performance.Activity report of project evaluation to the Committee of the university to ให้มาตรการ / policy in operation according to the indicators, and target. And the 3.Activities published a report the effect of project evaluation in the system of the budget, monthly, quarterly,
4 process improvement. The activities 2 activity was 1.Preparation of post project evaluation and management policy. The management measures 2 evaluation. The performance to improve the project management plan
.The assessment of the appropriate process a new design. Division of personnel policy and plans. According to the opinion of the workers, policy and Planning Division of the University, unanimously.4 factors is 1) of appropriate working process each step 2) of appropriate activities performance in each stage 3) the suitability of the indexes of the operational processes. 4) of appropriate application
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: