ผลการวิจัย ผลของการวิจัย ศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยายเรื่อง “ช่างสำราญ” แบ การแปล - ผลการวิจัย ผลของการวิจัย ศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยายเรื่อง “ช่างสำราญ” แบ อังกฤษ วิธีการพูด

ผลการวิจัย ผลของการวิจัย ศิลปะการใช

ผลการวิจัย
ผลของการวิจัย ศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยายเรื่อง “ช่างสำราญ” แบงออกไดเป็น 4 ประเด็นหลัก ไดแก การใช้คำ การใช้ ประโยค การใช้สำนวนโวหาร และการใช้ภาพพจน์ ตามลำดับต่อไปนี้
1. การใช้คำ
ศิลปะการใช้ภาษาของเดือนวาด พิมวนา ด้านการใช้คำ ที่ปรากฏใน นวนิยายเรื่อง “ช่างสำราญ”
มี 19 ลักษณะ ได้แก่ การใช้คำแสดงอารมณ์ความรู้สึก แสดงอาการเคลื่อนไหว บอกแสง สี เสียง กลิ่น รส แสดงการสัมผัส การใช้คำที่ต่างไปจากปกติ การเล่นสัมผัสเสียงของคำ การซ้ำคำ การหลากคำ การใช้คำ แบบ บันไดคำ การใช้สร้อยคำ การใช้คำที่มีความหมายตรงกันข้าม การใช้คำภาษาต่างประเทศ การใช้ภาษาพูด การใช้คำไม่สุภาพ และการละคำเชื่อม ดังนี้
1.1 การใช้คำแสดงอารมณ์ความรู้สึก เป็นการเลือกคำเพื่อแสดงให้ผู้อ่านเข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึกของตัวละครอย่างลึกซึ่ง และมีอารมณ์ร่วมไปกับตัวละครด้วย ไม่ว่าจะเป็นความสุขหรือความทุกข์ก็ตาม ดังตัวอย่างตอไปนี้
กำพลถือขนมค้างอยในมือ ตาลอยฟังคนนั้นพูดที คนนี้พูดที เขาเบื่อ คอตก คิดถึงพ่อ และฝันถึง บ้านใหม่ ทั้งเหนื่อยและง่วงนอน...เขาเริ่มหงุดหงิด และโกรธเมื่อผู้ใหญ่บ้างคนบอกว่า พ่ออาจทิ้งเขาไว้ที่นี้ พาน้องไปอยู่ที่อื่น...กำพลใจเสีย แต่ไม่เชื่อ เริ่มเกลียดหน้าผู้ใหญ่ เขาเลิกสนใจฟัง ชะเง้อมองต้นทาง ไม่วางตา (หน้า17)
กำพลรู้สึกหมดแรง เขาหิวแตไม่รู้จักความหิว คิดว่าตัวเองไม่สบาย และไม่อยากลุก ไปไหน (หน้า 41)
1.2 การใช้คำแสดงอาการเคลื่อนไหว เป็นคำบอกกิริยาอาการ และการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ ทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในจินตนาการณ์อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า การเคลื่อนไหว อย่างรวดเร็ว การเคลื่อนไหวอยู่ไม่นิ่ง และการแสดงอาการไม่ปรกติ ดังตัวอย่าง
แม่เหวี่ยงพัดลมคอหัก พ่อโยนกระติกน้ำร้อนข้ามหัวแม่ออกไปนอกบ้าน (หน้า 15)
ไอ้หนูผวาจากที่นอน คลำอยู่ในความมืด พอคนในบ้านลุกขึ้นเปิดไฟ เด็กถลาไปที่ประตู
เปิดและวิ่งออกไป ร้องเรียกหาพ่อดังก้องไปตามถนน (หน้า 20)
1.3 การใช้คำบอกแสง เป็นการเลือกคำที่แสดงแสงเงา ความสว่างของฉาก และบรรยากาศที่ผู้ เขียนต้องการนำเสนอ ทำให้งานเขียนนั้นนำเสนอสาระที่เห็นภาพชัดเจน คำบอกแสงที่เดือนวาด พิมวนานำมาใช้ เป็นการใช้คำบอกแสงที่อ่อนลง หม่นมัว และมืด การใช้คำบอกแสงที่กระพริบ ส่องประกาย และการ ใช้คำบอกแสงที่ส่องสว่างเจิดจา เช่น
ป้ายชื่อและลูกศรชี้อันสลัวรางไม่สว่างโร่ เท่าป้ายใหญ่หน้าปากซอย (หน้า 12)
เขาพลิกมือ หุ่นยนต์สีน้ำเงินแวววาวอยู่ในแสงสลัว (หน้า 66)
1.4 การใช้คำบอกสี เป็นการให้รายละเอียดของสีเพื่อให้ผู้อ่านได้สัมผัสความสวยงามของถ้อยคำ เพิ่มมากขึ้น การพรรณนาสีของผู้เขียนมักปรากฏการการใช้คำวิเศษณ์ขยายคำบอกสี หรือในบางครั้งผู้เขียน ไม่ได้ระบุสีให้ชัดเจนว่าเป็นสีอะไร แต่ใช้คำขยายทำให้เกิดภาพ ผู้อ่านสามารถคาดเดา หรือจินตนาการได้ ว่าน่าจะเป็น สีอะไร ปรากฏกล่าวไว้อย่างเด่นชัด เช่น
ลูกโป่งสีหวาน (หน้า 53)
ใบหน้าดำคลำน่ากลัวนัก (หนา 73)
ทั้งสองคลี่กระดาษแก้วขึ้นแปะตา พลางหัวเราะกันคึกคัก พวกเขาเปลี่ยนโลกให้กลายเป็น
สีทองเหลืองอร่าม (หน้า 76)
1.5 การใช้คำบอกเสียง เป็นคำที่ทำให้ผู้อ่านรับรสจินตภาพของเสียง โดยสัมผัสกับเสียงของคำ ที่ปรากฏออกมาโดยได้ยินเสียงของคำในการเลียนเสียงแบบต่าง ๆ และยังหมายถึง คำบอกเสียงและนำ เสียงของ ตัวละครที่เปล่งออกมาโดยมีโทนเสียงสามารถบอกระดับความเข้มและอ่อนของอารมณ์ตัวละคร ในขณะนั้นได้ซึ่งจะทำช่วยให้ผู้อ่านได้รับสารที่ชัดเจนเพิ่มขึ้น เช่น
หลายวันก่อนบ้านของกำพลเกิดเรื่อง พ่อกับแม่ทะเลาะตบตีกันเสียงดังไปถึงไหน ต่อไหน...
น้องชายวัยอีกสองเดือนจะครบขวบของกำพลร้องไห้จ้าอยู่ในบ้าน (หน้า 15)
ทุกครั้งที่มีการรวมตัวกันเพื่อเล่นซ่อนแอบ นับจำนวนแล้วสิบห้าคนพอดี
เริ่มต้นจะส่งเสียง โหวกเหวกเจี๊ยวจ๊าวจนผู้ใหญ่บ้างคนทนไม่ไหว (หน้า 49)
แต่เสียงกรีดกราดอึกทึกของเด็ก ๆ มิได้สร้างซา (หน้า 89)
1.6 การใช้คำบอกกลิ่น เป็นการเลือกคำเพื่อแสดงลักษณะของกลิ่นต่างๆ ทำให้ผู้อ่านสามารถรับ รู้ถึงกลิ่นนั้นๆ ได้ คำบอกกลิ่นที่ เดือนวาด พิมวนา นำมาใช้ มีทั้งคำบอกกลิ่นที่มีคำขยาย และคำบอกกลิ่นที่ ไม่มีคำขยายดังตัวอย่างต่อไปนี้
กำพลซึ่งนั่งละห้อยอยู่กับกองกระเป๋า ถูกเพื่อนบ้านใจดีอีกรายหนึ่งพาเข้าบ้านยื่นจานข้าวโปะไข้ เจียวหอมฉุยให้ตรงหน้า (หน้า 18)
เสื้อผ้าที่รีดแล้วแขวนอยู่เต็มราว กลิ่นหอมฟุ้งไปทั้งห้อง กำพลสูดดมอย่างชื่นอกชื่นใจ (หน้า 65)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The research results. The results of research in language arts novel "Bela mechanic"  Dai  is out 4 main points. Dai  Grand  using the stylistic idioms, to use, and the use of imagery in the following order:1. use of words.Language arts of the month draw PIM WANA use words that appear in the novel, "samran mechanic."There are 19 styles include the use of the Word show emotion. Movement symptoms tell the show sound and light touch, taste, smell. To use a different sound from the touch of the normal playback. To repeat the words. A variety of words To use a word ladder The use of the word necklace The use of the word that has the opposite meaning. To use a foreign language. The use of spoken words and the rhetorical As follows: 1.1 using the emotions as the selected words to show the readers understand the emotions. A feeling of deep character and emotions with which the characters with. Whether it's happy or sad it according to the following example. He holds commercial sweets in hand. Listen to the people, then, floating eyes speak. This man speak He was bored. Think fall father's neck, and dreaming of a new home all tired and sleepy, irritable, angry, and when he started ... adults who say that his father could throw at this project to the other ... but not the mind to believe he started to hate the adult page. He quit listening to the source view, not interested in placing changoe TA (page 17). He felt exhausted. He was hungry but know yourself to think that hunger is not comfortable and he doesn't want to go to erupt (page 41). 1.2 the use of the word movement is telling symptoms kiriyaakan and movement causes the reader to imagine in the forecast of images clearly. Whether it's moving forward. Fast motion The movement is not normal and does display symptoms. Such as the following: Centrifugal fan neck mother Hot Cross yonkratik head mother father outside the home (page 15). Damn rats to rush in from the couch groped in the dark. Enough people get up in the House opened fire. Child to stumble to the door.Open and run out Find your father called rumble along the road (page 20). 1.3 the use of the word light shading shows the brightness of the scene and atmosphere that the authors want to present written work they offer a clear picture that the essence. The light-month draw PIM WANA is used, use the lighter light tells. Dim and dark, warmth To use the light flashing Shine and Use a bright light, telling the defendant, such as. Labels and arrows, prideful Dim point only talking big illumination no rail businesses (page 12). He flipped a blue robot hand glitter is in dim light (page 66) 1.4 การใช้คำบอกสี เป็นการให้รายละเอียดของสีเพื่อให้ผู้อ่านได้สัมผัสความสวยงามของถ้อยคำ เพิ่มมากขึ้น การพรรณนาสีของผู้เขียนมักปรากฏการการใช้คำวิเศษณ์ขยายคำบอกสี หรือในบางครั้งผู้เขียน ไม่ได้ระบุสีให้ชัดเจนว่าเป็นสีอะไร แต่ใช้คำขยายทำให้เกิดภาพ ผู้อ่านสามารถคาดเดา หรือจินตนาการได้ ว่าน่าจะเป็น สีอะไร ปรากฏกล่าวไว้อย่างเด่นชัด เช่น ลูกโป่งสีหวาน (หน้า 53) ใบหน้าดำคลำน่ากลัวนัก (หนา 73) ทั้งสองคลี่กระดาษแก้วขึ้นแปะตา พลางหัวเราะกันคึกคัก พวกเขาเปลี่ยนโลกให้กลายเป็น สีทองเหลืองอร่าม (หน้า 76) 1.5 การใช้คำบอกเสียง เป็นคำที่ทำให้ผู้อ่านรับรสจินตภาพของเสียง โดยสัมผัสกับเสียงของคำ ที่ปรากฏออกมาโดยได้ยินเสียงของคำในการเลียนเสียงแบบต่าง ๆ และยังหมายถึง คำบอกเสียงและนำ เสียงของ ตัวละครที่เปล่งออกมาโดยมีโทนเสียงสามารถบอกระดับความเข้มและอ่อนของอารมณ์ตัวละคร ในขณะนั้นได้ซึ่งจะทำช่วยให้ผู้อ่านได้รับสารที่ชัดเจนเพิ่มขึ้น เช่น หลายวันก่อนบ้านของกำพลเกิดเรื่อง พ่อกับแม่ทะเลาะตบตีกันเสียงดังไปถึงไหน ต่อไหน...
น้องชายวัยอีกสองเดือนจะครบขวบของกำพลร้องไห้จ้าอยู่ในบ้าน (หน้า 15)
ทุกครั้งที่มีการรวมตัวกันเพื่อเล่นซ่อนแอบ นับจำนวนแล้วสิบห้าคนพอดี
เริ่มต้นจะส่งเสียง โหวกเหวกเจี๊ยวจ๊าวจนผู้ใหญ่บ้างคนทนไม่ไหว (หน้า 49)
แต่เสียงกรีดกราดอึกทึกของเด็ก ๆ มิได้สร้างซา (หน้า 89)
1.6 การใช้คำบอกกลิ่น เป็นการเลือกคำเพื่อแสดงลักษณะของกลิ่นต่างๆ ทำให้ผู้อ่านสามารถรับ รู้ถึงกลิ่นนั้นๆ ได้ คำบอกกลิ่นที่ เดือนวาด พิมวนา นำมาใช้ มีทั้งคำบอกกลิ่นที่มีคำขยาย และคำบอกกลิ่นที่ ไม่มีคำขยายดังตัวอย่างต่อไปนี้
กำพลซึ่งนั่งละห้อยอยู่กับกองกระเป๋า ถูกเพื่อนบ้านใจดีอีกรายหนึ่งพาเข้าบ้านยื่นจานข้าวโปะไข้ เจียวหอมฉุยให้ตรงหน้า (หน้า 18)
เสื้อผ้าที่รีดแล้วแขวนอยู่เต็มราว กลิ่นหอมฟุ้งไปทั้งห้อง กำพลสูดดมอย่างชื่นอกชื่นใจ (หน้า 65)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: