ผลการศึกษากลวิธีการเรียนภาษาของนักเรียนโรงเรียนลำปลายมาศ ต.ลำปลายมาศ อ การแปล - ผลการศึกษากลวิธีการเรียนภาษาของนักเรียนโรงเรียนลำปลายมาศ ต.ลำปลายมาศ อ อังกฤษ วิธีการพูด

ผลการศึกษากลวิธีการเรียนภาษาของนักเ

ผลการศึกษากลวิธีการเรียนภาษาของนักเรียนโรงเรียนลำปลายมาศ ต.ลำปลายมาศ อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์โดยรวมและจำแนกตามกลุ่มที่เรียนเก่งมาก กลุ่มที่เรียนเก่ง กลุ่มที่เรียนปานกลาง และกลุ่มที่เรียนอ่อนมีประเด็นสำคัญนำมาอภิปรายผล ดังต่อไปนี้
1.ลักษณะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยรวม พบว่าลักษณะการเรียนรู้ที่นักเรียนมีมากที่สุดคือลักษณะการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆ กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนส่วนใหญ่จะชอบเรียนรู้ในรูปของการจัดการกับความคิดในเรื่องต่างๆด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆของนักเรียนแต่ละคนจะแตกต่างกันไป ดังที่ Oxford, 1991ได้กล่าวถึงลักษณะการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆ ( overall orientation ; global, analytic) ไว้ว่าเป็นการเรียนรู้ที่แสดงว่าผู้เรียนมักใช้กลวิธีในการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการคาดเดาความหมายของภาษาใหม่หรือเพื่อการศึกษารายละเอียดของภาษาและกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ก่อนที่จะสรุปหาคำตอบใหม่จากแนวคิดดังกล่าวจะเห็นว่า ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้เนื่องมาจากการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของตนอย่างถูกต้องและเหมาะสม ผู้เรียนแต่ละคนไม่จำเป็นต้องมีความคิดและมุมมองทางภาษาที่เหมือนกัน อาจต่างกันได้ตามลักษณะการเรียนรู้ของแต่ละคน จากลักษณะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนดังกล่าว ผู้สอนอาจจัดการเรียนรู้ในรูปของการฝึกให้นักศึกษาเดาความหมายของคำหรือประโยคต่างๆจากความคิดและมุมมองของตนเอง หรืออาจอยู่ในรูปของการศึกษากฎไวยากรณ์ทางภาษาเพื่อที่จะสรุปหาคำตอบใหม่เอง ก็จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้ด้านภาษาของนักเรียนได้ เมื่อจำแนกตามกลุ่มเรียน พบว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากจะมีลักษณะการเรียนรู้ที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้ประสาทสัมผัสตา และลักษณะของการคาดเดากฎและความหมายของภาษาใหม่มากที่สุด กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากจะเรียนรู้ภาษาโดยใช้ตามากที่สุด เช่น การดูสื่อการเรียนรู้ การสังเกตเพื่อได้ข้อมูลที่สำคัญต่างๆ ซึ่งการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประสาทสัมผัสตานี้จะทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ดีและเร็วกว่าการใช้ประสาทสัมผัสอื่น นอกจากนี้การมองสิ่งที่เรียนในภาพรวมและมีมุมมองทางภาษาเป็นของตนเองก็จะทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่วนนักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งจะมีลักษณะการเรียนรู้ในแบบของการคาดเดากฎและความหมายของภาษาใหม่มากที่สุด กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งส่วนใหญ่มักจะเรียนรู้ภาษาจากการคาดเดาไม่ว่าจะเป็นการคาดเดากฎเกณฑ์ทางภาษาหรือคาดเดาความหมายของคำศัพท์ การเรียนรู้ในลักษณะนี้จะทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนในลักษณะอื่น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ พัชรีพรรณ ม.รัตนพล (2541) ซึ่งได้ทำวิจัยเรื่อง การศึกษาลักษณะการเรียนรู้และกลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเรียนรู้และกลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มสูงและกลุ่มปานกลางเป็นผู้ถนัดใช้ตา
(ร้อยละ 48 และ 44) และชอบคาดเดากฎเกณฑ์และความหมายของภาษาใหม่ (ร้อยละ 39 และ 54)
จากงานวิจัยดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากและกลุ่มที่เรียนเก่งส่วนใหญ่มักจะ
เรียนรู้ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เพราะช่วยให้พวกเขาเกิดการเรียนรู้ได้ดี ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนจึงสามารถจัดการเรียนรู้ที่เอื้อต่อลักษณะการเรียนรู้ดังกล่าวของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ส่วนนักเรียนกลุ่มที่เรียนปานกลางจะมีลักษณะการเรียนรู้แบบมีความละเอียดถี่ถ้วนใน การวางแผนและทำภาระงานมากที่สุด กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนที่เรียนปานกลางส่วนใหญ่จะไม่สร้างกฎเกณฑ์ทางภาษาใหม่ด้วยตนเอง แต่จะเรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาและจดเนื้อหาที่เรียนอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและเป็นระบบตามที่ตนได้เรียนมา ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาที่สองของ Krashen and Terrel (1983 : 175) กล่าวว่า การเรียนรู้กฎเกณฑ์ของภาษาช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาได้น้อยมาก กฎเกณฑ์ของภาษาไม่ได้ช่วยให้เราพูดภาษาคล่องขึ้น แต่มีบทบาทเพียงตรวจแก้ไขข้อบกพร่องในการใช้ภาษาเท่านั้น จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนปานกลางส่วนใหญ่ที่มีลักษณะการเรียนรู้ในลักษณะนี้จะส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาและเรียนรู้ภาษาได้ไม่ดีพอหรือไม่เท่ากับนักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากหรือกลุ่มที่เรียนเก่งเท่าใดนัก ถ้าเป็นเช่นนี้ ผู้สอนอาจไม่จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในลักษณะนี้ แต่จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องหรือคล้ายคลึงกับลักษณะการเรียนรู้ที่นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากหรือกลุ่มที่เรียนเก่งนั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนกลุ่มที่เรียนปานกลางมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้ภาษาได้ดีขึ้น ส่วนนักเรียนกลุ่มที่เรียนอ่อนจะมีลักษณะการเรียนรู้ในแบบของการคาดเดากฎและความหมายของภาษาใหม่มากที่สุดซึ่งเหมือนกับกลุ่มที่เรียนเก่ง แต่อาจต่างกันตรงที่ นักเรียนกลุ่มที่เรียนอ่อนอาจไม่ชอบการจดจำกฎไวยากรณ์เพราะยากเกินไปแต่ชอบการคาดเดาเอง ซึ่งอาจเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้องเพราะนักเรียนอาจเกิดการเรียนรู้ที่ผิดเนื่องจากไม่ทราบความหมายของคำศัพท์หรือประโยคที่แท้จริง
2. กลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยรวมพบว่า กลวิธีการเรียนรู้ที่นักเรียนใช้มากที่สุดคือกลวิธีที่ใช้อภิปัญญา, กลวิธีเชิงวิภาพและกลวิธีทางสังคม รองลงมาคือกลวิธีที่ใช้ความจำและกลวิธีที่นักเรียนใช้น้อยที่สุดคือกลวิธีที่ใช้ความรู้ความเข้าใจ กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนส่วนใหญ่จะตระหนักในการเรียนรู้ภาษาของตนเองและทราบความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง นอกจากนี้ยังใช้วิธีการสร้างแรงจูงใจให้กับตนเองในการเรียนรู้ภาษา รวมถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นการได้พูดคุยแลก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Study of the mechanism of students ' language learning schools-Lam Plai mat. T. LAM Plai mat A. LAM Plai mat Buriram province as a whole and by many talented students group. The study group, the expert group of the Group of students studying there are mild, moderate, and keynote presentations and discussions to bring results. Any of the following:1.ลักษณะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยรวม พบว่าลักษณะการเรียนรู้ที่นักเรียนมีมากที่สุดคือลักษณะการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆ กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนส่วนใหญ่จะชอบเรียนรู้ในรูปของการจัดการกับความคิดในเรื่องต่างๆด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆของนักเรียนแต่ละคนจะแตกต่างกันไป ดังที่ Oxford, 1991ได้กล่าวถึงลักษณะการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆ ( overall orientation ; global, analytic) ไว้ว่าเป็นการเรียนรู้ที่แสดงว่าผู้เรียนมักใช้กลวิธีในการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการคาดเดาความหมายของภาษาใหม่หรือเพื่อการศึกษารายละเอียดของภาษาและกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ก่อนที่จะสรุปหาคำตอบใหม่จากแนวคิดดังกล่าวจะเห็นว่า ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้เนื่องมาจากการจัดการกับความคิดและมุมมองต่างๆในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของตนอย่างถูกต้องและเหมาะสม ผู้เรียนแต่ละคนไม่จำเป็นต้องมีความคิดและมุมมองทางภาษาที่เหมือนกัน อาจต่างกันได้ตามลักษณะการเรียนรู้ของแต่ละคน จากลักษณะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนดังกล่าว ผู้สอนอาจจัดการเรียนรู้ในรูปของการฝึกให้นักศึกษาเดาความหมายของคำหรือประโยคต่างๆจากความคิดและมุมมองของตนเอง หรืออาจอยู่ในรูปของการศึกษากฎไวยากรณ์ทางภาษาเพื่อที่จะสรุปหาคำตอบใหม่เอง ก็จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้ด้านภาษาของนักเรียนได้ เมื่อจำแนกตามกลุ่มเรียน พบว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากจะมีลักษณะการเรียนรู้ที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้ประสาทสัมผัสตา และลักษณะของการคาดเดากฎและความหมายของภาษาใหม่มากที่สุด กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากจะเรียนรู้ภาษาโดยใช้ตามากที่สุด เช่น การดูสื่อการเรียนรู้ การสังเกตเพื่อได้ข้อมูลที่สำคัญต่างๆ ซึ่งการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประสาทสัมผัสตานี้จะทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ดีและเร็วกว่าการใช้ประสาทสัมผัสอื่น นอกจากนี้การมองสิ่งที่เรียนในภาพรวมและมีมุมมองทางภาษาเป็นของตนเองก็จะทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่วนนักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งจะมีลักษณะการเรียนรู้ในแบบของการคาดเดากฎและความหมายของภาษาใหม่มากที่สุด กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งส่วนใหญ่มักจะเรียนรู้ภาษาจากการคาดเดาไม่ว่าจะเป็นการคาดเดากฎเกณฑ์ทางภาษาหรือคาดเดาความหมายของคำศัพท์ การเรียนรู้ในลักษณะนี้จะทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนในลักษณะอื่น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ พัชรีพรรณ ม.รัตนพล (2541) ซึ่งได้ทำวิจัยเรื่อง การศึกษาลักษณะการเรียนรู้และกลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร The objective is to learn how to learn and learning strategy of English of students in secondary education.Vol. 5, triam Udom suksa school research found that students in high and medium groups who prefer using the eyes. (48 and 44 per cent) and strong password rules and the meaning of the new language (39 and 54 per cent). From the above research to see that students learn the most talented group and a group of talented students most often.เรียนรู้ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เพราะช่วยให้พวกเขาเกิดการเรียนรู้ได้ดี ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนจึงสามารถจัดการเรียนรู้ที่เอื้อต่อลักษณะการเรียนรู้ดังกล่าวของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ส่วนนักเรียนกลุ่มที่เรียนปานกลางจะมีลักษณะการเรียนรู้แบบมีความละเอียดถี่ถ้วนใน การวางแผนและทำภาระงานมากที่สุด กรณีดังกล่าวอธิบายได้ว่า นักเรียนที่เรียนปานกลางส่วนใหญ่จะไม่สร้างกฎเกณฑ์ทางภาษาใหม่ด้วยตนเอง แต่จะเรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาและจดเนื้อหาที่เรียนอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและเป็นระบบตามที่ตนได้เรียนมา ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาที่สองของ Krashen and Terrel (1983 : 175) กล่าวว่า การเรียนรู้กฎเกณฑ์ของภาษาช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาได้น้อยมาก กฎเกณฑ์ของภาษาไม่ได้ช่วยให้เราพูดภาษาคล่องขึ้น แต่มีบทบาทเพียงตรวจแก้ไขข้อบกพร่องในการใช้ภาษาเท่านั้น จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนปานกลางส่วนใหญ่ที่มีลักษณะการเรียนรู้ในลักษณะนี้จะส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาและเรียนรู้ภาษาได้ไม่ดีพอหรือไม่เท่ากับนักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากหรือกลุ่มที่เรียนเก่งเท่าใดนัก ถ้าเป็นเช่นนี้ ผู้สอนอาจไม่จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในลักษณะนี้ แต่จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องหรือคล้ายคลึงกับลักษณะการเรียนรู้ที่นักเรียนกลุ่มที่เรียนเก่งมากหรือกลุ่มที่เรียนเก่งนั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนกลุ่มที่เรียนปานกลางมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้ภาษาได้ดีขึ้น ส่วนนักเรียนกลุ่มที่เรียนอ่อนจะมีลักษณะการเรียนรู้ในแบบของการคาดเดากฎและความหมายของภาษาใหม่มากที่สุดซึ่งเหมือนกับกลุ่มที่เรียนเก่ง แต่อาจต่างกันตรงที่ นักเรียนกลุ่มที่เรียนอ่อนอาจไม่ชอบการจดจำกฎไวยากรณ์เพราะยากเกินไปแต่ชอบการคาดเดาเอง ซึ่งอาจเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้องเพราะนักเรียนอาจเกิดการเรียนรู้ที่ผิดเนื่องจากไม่ทราบความหมายของคำศัพท์หรือประโยคที่แท้จริง2. English language learning strategy of the students ' overall learning strategy found that most students use the tactics used, debates, strategies and tactics-oriented video image on a social strategy and tactics used, students used the least are the tactics used knowledge and understanding. These cases, explain most of the students will recognize in their own language learning and the ability to learn on your own. It is also used to create motivation to learn their own language, as well as interaction with other people to talk.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The study of language learning strategies of the students in the school Lam plai mat T. Lam plai mat Mr Lam plai mat.Ram overall and classified by group learning good learning good learning medium. And group learning weak inflation brought debate the following
1.English learning styles of students overall. Results show that the students are learning the most learning styles associated with dealing with the various thoughts and views the explainWhich will make the students learn better and more effective. The management thoughts and views of each student will vary, as Oxford1991 mentioned learning styles related to dealing with ideas and different views (overall, orientation; globalAnalytic) that is learning that students often use of learning strategies.Students will learn due to deal with the various thoughts and views on their การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ correctly and appropriately. The students each have an idea and view language as well.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: