To think the executivesThe idea is the result of the work of the brain in the founding (Formulate) something up in manokti (mind) through the operation of the system to recognize the psychological (cognitive system), in the section of the Act to distinguish between thoughts, actions and feelings. Through an idea leads to behavior that is responding to the situation, it is important to think about เรี่อง. Thinking the imagination to think how we commemorate thought reasoning and problem solving. The charge related to management?The idea is related to survival, making people want to survive, they will start thinking anything out. If not, it is difficult to survive.The demand for exotic stuff, thoughts People would like to think it is not much of a usual attempt to find new investors think it is less rebellion, the new theory is one that is free of rebels against the original theory. Not satisfied with the original but better to dare to think. If we tell ourselves that the Government is broken. If we don't think will change while the elder of us as we bring good changes coming to us.Suspicion arouse, think. Creates knowledge and curiosity Sometimes a child curious but who the father is, this question is easily answered if the cutting comments. Parents need to be the author of the curious สภาพปัญหา กระตุ้นให้คิด ปัญหาทำให้เราคิดสารพัด เราต้องหาวิธีออก วิธีคิด การที่เราพบปัญหานั้นทำให้เรานำมาใช้ประโยชน์ได้ การทำงานไม่ทำให้ออกมาเป็นรูปแบบเดิม ๆ ยุคนี้เป็นยุคที่ทำให้เกิดวิธีการคิดโดยมีวิธีการคิด 10 มิติ การคิด 10 มิติ เกิดจากการประชุมระดับชาติ เป็นการสอนให้คนเกิดการคิด นอกกรอบ วิธีคิดแบบผู้บริหารผ่านการคิด 10 มิติ1. การคิดเชิงกลยุทธ์2. การคิดเชิงอนาคต3. การคิดเชิงสร้างสรรค์4. การคิดเชิงวิพากษ์5. การคิดเชิงบูรณาการ6. การคิดเชิงวิเคราะห์7. การคิดเชิงเปรียบเทียบ8. การคิดเชิงสังเคราะห์9. การคิดเชิงมโนทัศน์10. การคิดเชิงประยุกต์ 1. การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดเชิงกลยุทธ์เป็นเรื่องที่จำเป็น จริงๆ แล้วความคิดทั้ง 10 มิติ เป็นการใช้ตลอดเวลา และจำเป็นต้องใช้ในอนาคต สำหรับอันดับแรกเป็นการคิดเชิงกลยุทธ์ ผู้บริหารเป็นคนชี้ขาด คือ คนที่นำในองค์กร คนแรกที่ต้องพบปัญหา คนแรกที่ตัดสินว่าจะไปซ้ายหรือไปขวา ฉะนั้นการคิดเชิงกลยุทธ์เปลี่ยนมาก สถานการณ์เปลี่ยนตลอดเวลา และมีทรัพยากรจำกัด บุคลากรก็มีจำกัด สถานการณ์ปัจจุบันไม่สามารถแก้ปัญหาตามเคยชินได้ ฉะนั้นการคิดเชิงกลยุทธ์จึงมีความจำเป็นสำหรับผู้บริหารมากในการเผชิญปัญหาต่างๆ ในการวางแผน การบริหารจัดการ การกำหนดว่าจะทำอะไรก่อนหลัง นักวิชาการด้านการบริหารบอกว่า การคิดเชิงกลยุทธ์เป็นการวางแผนเพื่ออนาคต เพื่อการตัดสินใจในอนาคต มี 2 วิธีที่จะเผชิญในอนาคต วิธีที่หนึ่งเหตุการณ์จะเกิดขึ้น เดินไปเรื่อยๆ ชีวิตนี้ปล่อยไปตามเวรตามกรรม ตามสภาวะแวดล้อม ตายเอาดาบหน้า อีกวิธีหนึ่ง คือ แน่นอนท่านไม่สามารถรู้อนาคตได้ เราคิดไปก่อนแล้วเราวางแผนไว้ แต่สิ่งนั้นเกิดขึ้นและต้องตัดสินใจ ณ วันนี้ นักวิชาการอีกคนหนึ่งนายไมเคิลบอกว่า ขบวนการคิดเชิงกลยุทธ์ เป็นการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยการจัดสรรทรัพยากรตั้งแต่วันนี้ เพราะฉะนั้นผู้บริหารต้องกำหนดแนวทางที่ดีที่สุดภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่จำกัด ภายใต้การเปลี่ยนแปลงทุกอย่าง บริหารงบประมาณ บริหารบุคลากรให้บรรลุเป้าหมาย การจะให้บรรลุตามเป้าหมายต้องมีการวางแผนอย่างรัดกุม การประเมินความได้เปรียบและเสียเปรียบของสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นและการคาดการณ์ของอนาคต การเลือกกลยุทธ์เป็นสิ่งสำคัญมากในการประสบความสำเร็จ หลักการคิดเชิงกลยุทธ์มีดังนี้ ขั้นที่หนึ่ง กำหนดเป้าหมายที่ต้องการจะไปให้ถึง ขั้นที่สอง วิเคราะห์และประเมินสถานะ ขั้นที่สาม การหาทางเลือกกลยุทธ์ ขั้นที่สี่ การวางแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ห้า การวางแผนคู่ขนาน ขั้นที่หก การทดสอบในสถานการณ์จำลอง ขั้นที่เจ็ด การลงมือปฏิบัติการ ขั้นที่แปด การประเมินผล 2. การคิดเชิงอนาคต มีประโยชน์มากและจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นการคาดการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม การคิดเชิงอนาคตมีหลายวิธี แต่ใช้วิธีที่เหมาะสมและประกอบด้วย 6 หลักดังนี้คือ1. หลักการมองอย่างองค์รวม (Holistic Approach) ต้องมองทุกด้านที่เกี่ยวข้องกัน2. หลักความต่อเนื่อง (Continuity) การคาดการณ์ในอนาคตต้องคาดการณ์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กัน3. หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (Causal Relationship) การคิดเชิงอนาคตไม่ใช่เป็นการคิดแบบเดาสุ่ม แต่เป็นหลักของความคิดแบบมีความสัมพันธ์อย่างมีเหตุผลได้4. หลักการอุปมา (Analogy) โดยยึดหลักว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่าง ๆในโลกนี้ล้วนมีแบบแผน ล้วนดำเนินไปอย่างมีระบบ เหตุการณ์ใดที่เกิดขึ้นก็มักจะเกิดเหตุการณ์อื่นตามมาด้วย5. หลักการจินตนาการ (Imagination) การใช้จินตนาการเป็นการที่ทำให้การวาดภาพได้ในอนาคตเป็นการท้าท้าย การจะใช้หลักจินตนาการเราต้องใช้หลักเหตุผล เพื่อที่จะให้การจินตนาการไม่ไร้หลักการ6. หลักดุลยภาพ (Equilibrium) เป็นหลักการที่บอกว่าในโลกแห่งความเป็นจริง ต้องปรับเข้าหาส่วนดีเสมอ หากมีการเสียสมดุลย์เกิดขึ้นระบบก็จะพยายามปรับให้เกิดความสมดุลย์แก่ตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นความสมดุลย์ทางด้านเศรษฐกิจ ความสมดุลย์ในร่างกายของเราเอง 3. การคิดเชิงสร้างสรรค์ ผู้บริหารมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการคิดเชิงสร้างสรรค์ โจทย์ไม่เหมือนเดิม คำตอบไม่เหมือนเดิม วิธีตอบคำถามคือไม่เหมือนเดิม จึงมีความแปลกใหม่ ต้องการนวัตกรรมในการตอบคำถาม ในการบริหารงานต่าง ๆถูกบังคับให้เราต้องเอาชนะสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีการใหม่ๆ การคิดเชิงสร้างสรรค์ไปสู่ความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนสามารถทำให้เราค้นหาคำตอบที่ดีที่สุด และอีกอย่างการคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นการฝ่าวงล้อมในการคิดเล็ก ๆ หรือการแวกม่านความคิดต่าง ๆออกไปเพื่อค้นพบในการแก้ปัญหาใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน ใครคิดก่อนได้เปรียบ หลักการคิดสร้างสรรค์ได้แก่1. ฝึกถามคำถามที่กระตุ้นให้เกิดความคิดใ
การแปล กรุณารอสักครู่..