5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมชายพลอยเลื่อมแสง (2547) ศึกษาทัศนคติและการร การแปล - 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมชายพลอยเลื่อมแสง (2547) ศึกษาทัศนคติและการร อังกฤษ วิธีการพูด

5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมชายพลอยเ

5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สมชายพลอยเลื่อมแสง (2547) ศึกษาทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างความเครียดและความต้องการควบคุมน้าหนักของวัยรุ่นไทยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หาความชุกและปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการลดน้าหนักของวัยรุ่นไทยโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการแสดงพฤติกรรมอย่างมีเหตุผล (Theory of Resasoned Action) เป็นพื้นฐานทาการในกลุ่มวัยรุ่นไทยที่กาลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงระดับปริญญาตรีของประเทศไทยจานวน 492 คนเครื่องมือในการศึกษาผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญและให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.8803 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) หาความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) พบว่า 22 ข้อคาถามเรื่องทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างประกอบด้วย 4 องค์ประกอบที่สามารถอธิบายความแปรปรวนในเรื่องที่จะศึกษาได้ร้อยละ 51.81 ผลการสำรวจพบว่าวัยรุ่นให้อัตราการตอบกลับ 42.0 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆกับการตัดสินใจลดน้าหนักด้วยไคสแควร์ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) รวมทั้งการหาสมการทานายการตัดสินใจลดน้าหนักของวัยรุ่นด้วยสมการถดถอยโลจิสติก (Logistic Pegression Analysis) พบว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่พึงพอใจในรูปร่างของตนเองมักให้ความคิดเห็นว่ารูปร่างของตนเองอ้วนกว่าความจริงและด้วยกว่าค่าดัชนีมวลกายมาตรฐาน (BMI) ที่องค์การอนามัยโลกกำหนดโดยวัยรุ่นและที่คิดว่าตนเองอ้วนมากร้อยละ64.7 อยู่ในเกณฑ์รูปร่างมาตรฐานตามดัชนีมวลกายปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจของวัยรุ่นคือการรับรู้รูปร่างผ่านคนรอบข้างเช่นนพมาศศรีขวัญ (2547) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมกลุ่มพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงเป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงกลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นหญิงจานวน 90 รายที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชุดคือแบบสอบถามทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับผลของการลดน้าหนักกับแบบสอบถามการประเมินผลของการลดน้าหนักตามความเชื่อแบบสอบถามการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมกับแบบสอบถามการรับรู้การ14
ควบคุมพฤติกรรมและแบบสอบถามพฤติกรรมการลดน้าหนักผ่านการตรวจสอบถามตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงโดยวิธีแอลฟ่าครอนบาคมีค่าเท่ากับ .73, .88, .94, .86, .73, .81, และ .86 ตามลาดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยการเบี่ยงเบนมาตรฐานหาความสัมพันธ์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงถูกต้องระดับปานกลาง ( = 59.44) 2 วัยรุ่นหญิงมีทัศนคติทางบวกต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักในระดับต่ำ ( = 23.30) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญกับพฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่นหญิง (r = .283, p < .05) 4. ทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยกลุ่มอ้างอิงสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่น (= .089, F = 2.792, p < .05)
ปวีณายุกตานนท์ (2549) ศึกษาปัจจัยคิดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีอายุระหว่าง 18 – 21 ปีในเขตกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างจานวน 416 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนจานวน 210 คนและกลุ่มที่ไม่มีพฤติกรรมใช้ยาลดความอ้วนจานวน 206 คนโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบลดความพึงพอใจในรูปลักษณ์แบบวัดอิทธิพลของสื่อแบบวัดอิทธิพลของกลุ่มเพื่อนแบบวัดอิทธิของครอบครัวและแบบวัดความเชื่อเกี่ยวกับยาลดความอ้วนข้อมูลวิเคราะห์โดยสถิติการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) ด้วยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเข้าชมการจำแนกกลุ่ม (Stepwise) โดยใช้สถิติทดสอบWilks’ Lamdaเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ผลการวิจัยแสดงว่ามี 5 ปัจจัยที่มีค่าอำนาจจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีและไม่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ความเชื่อในประสิทธิภาพของยาลดความอ้วนความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์อิทธิพลของสื่อความเชื่อในผลกระทบของยาลดความอ้วนและรายได้เฉลี่ยแต่ละเดือนโดยทั้ง 5 ปัจจัยสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และมีความถูกต้องในการพยากรณ์อำนาจจำแนกสูงร้อยละ 97.40
นฤมลฝีปากเพราะ (2549) ศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาณช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 701 คนโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามทัศนคติเรื่องโรคอ้วนแบบสอบถามอัตมโนทัศน์แบบวัดการเผชิญปัญหาของวัยรุ่นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการลดน้าหนักและจำแนกกลุ่มตัวอย่างตามดัชนีมวลกายได้กลุ่มตัวอย่างที่มีโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independence t-test, Pearson correlation, multiple regression ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเผชิญปัญญาหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินเหมาะสมปานกลาง 67.8% มีพฤติกรรมลดน้าหนักไม่เหมาะสม 16
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
5. related research. สมชายพลอยเลื่อมแสง (2547) ศึกษาทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างความเครียดและความต้องการควบคุมน้าหนักของวัยรุ่นไทยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หาความชุกและปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการลดน้าหนักของวัยรุ่นไทยโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการแสดงพฤติกรรมอย่างมีเหตุผล (Theory of Resasoned Action) เป็นพื้นฐานทาการในกลุ่มวัยรุ่นไทยที่กาลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงระดับปริญญาตรีของประเทศไทยจานวน 492 คนเครื่องมือในการศึกษาผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญและให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.8803 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) หาความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) พบว่า 22 ข้อคาถามเรื่องทัศนคติและการรับรู้เรื่องรูปร่างประกอบด้วย 4 องค์ประกอบที่สามารถอธิบายความแปรปรวนในเรื่องที่จะศึกษาได้ร้อยละ 51.81 ผลการสำรวจพบว่าวัยรุ่นให้อัตราการตอบกลับ 42.0 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆกับการตัดสินใจลดน้าหนักด้วยไคสแควร์ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) รวมทั้งการหาสมการทานายการตัดสินใจลดน้าหนักของวัยรุ่นด้วยสมการถดถอยโลจิสติก (Logistic Pegression Analysis) พบว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่พึงพอใจในรูปร่างของตนเองมักให้ความคิดเห็นว่ารูปร่างของตนเองอ้วนกว่าความจริงและด้วยกว่าค่าดัชนีมวลกายมาตรฐาน (BMI) ที่องค์การอนามัยโลกกำหนดโดยวัยรุ่นและที่คิดว่าตนเองอ้วนมากร้อยละ64.7 อยู่ในเกณฑ์รูปร่างมาตรฐานตามดัชนีมวลกายปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจของวัยรุ่นคือการรับรู้รูปร่างผ่านคนรอบข้างเช่นนพมาศศรีขวัญ (2547) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมกลุ่มพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงเป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมและพฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงกลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นหญิงจานวน 90 รายที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชุดคือแบบสอบถามทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับผลของการลดน้าหนักกับแบบสอบถามการประเมินผลของการลดน้าหนักตามความเชื่อแบบสอบถามการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิงกับแบบสอบถามแรงจูงใจที่จะคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงแบบสอบถามการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมกับแบบสอบถามการรับรู้การ14 ควบคุมพฤติกรรมและแบบสอบถามพฤติกรรมการลดน้าหนักผ่านการตรวจสอบถามตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงโดยวิธีแอลฟ่าครอนบาคมีค่าเท่ากับ .73, .88, .94, .86, .73, .81, และ .86 ตามลาดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยการเบี่ยงเบนมาตรฐานหาความสัมพันธ์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการลดน้าหนักของวัยรุ่นหญิงถูกต้องระดับปานกลาง ( = 59.44) 2 วัยรุ่นหญิงมีทัศนคติทางบวกต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักในระดับต่ำ ( = 23.30) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญกับพฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่นหญิง (r = .283, p < .05) 4. ทัศนคติต่อพฤติกรรมการลดน้าหนักการคล้อยกลุ่มอ้างอิงสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการลดน้าหนักในวัยรุ่น (= .089, F = 2.792, p < .05) ปวีณายุกตานนท์ (2549) ศึกษาปัจจัยคิดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีอายุระหว่าง 18 – 21 ปีในเขตกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างจานวน 416 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนจานวน 210 คนและกลุ่มที่ไม่มีพฤติกรรมใช้ยาลดความอ้วนจานวน 206 คนโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบลดความพึงพอใจในรูปลักษณ์แบบวัดอิทธิพลของสื่อแบบวัดอิทธิพลของกลุ่มเพื่อนแบบวัดอิทธิของครอบครัวและแบบวัดความเชื่อเกี่ยวกับยาลดความอ้วนข้อมูลวิเคราะห์โดยสถิติการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) ด้วยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเข้าชมการจำแนกกลุ่ม (Stepwise) โดยใช้สถิติทดสอบWilks’ Lamdaเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ผลการวิจัยแสดงว่ามี 5 ปัจจัยที่มีค่าอำนาจจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นหญิงตอนปลายที่มีและไม่มีพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ความเชื่อในประสิทธิภาพของยาลดความอ้วนความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์อิทธิพลของสื่อความเชื่อในผลกระทบของยาลดความอ้วนและรายได้เฉลี่ยแต่ละเดือนโดยทั้ง 5 ปัจจัยสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และมีความถูกต้องในการพยากรณ์อำนาจจำแนกสูงร้อยละ 97.40 นฤมลฝีปากเพราะ (2549) ศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาณช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเผชิญปัญหาเรื่องโรคอ้วนหรือโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 701 คนโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามทัศนคติเรื่องโรคอ้วนแบบสอบถามอัตมโนทัศน์แบบวัดการเผชิญปัญหาของวัยรุ่นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการลดน้าหนักและจำแนกกลุ่มตัวอย่างตามดัชนีมวลกายได้กลุ่มตัวอย่างที่มีโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independence t-test, Pearson correlation, multiple regression ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการเผชิญปัญญาหาเรื่องโรคอ้วนหรือภาวะน้าหนักเกินเหมาะสมปานกลาง 67.8% มีพฤติกรรมลดน้าหนักไม่เหมาะสม 16
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
5. Related Research
Somchai stones, sequins Light (2547) studied the attitudes and perceptions about the shape, weight control, stress and demands of teenagers Thailand sectional analytical study was aimed to determine the prevalence and factors affecting. the need to reduce the weight of the teens Thailand by the application of theory to behave rationally (Theory of Resasoned Action) is the basic cause of the teen Thailand who are currently studying in junior high school to undergraduate Thailand's number. 492 educational tools through an examination content validity (Content Validity) expert and the coefficient of reliability (Cronbach's alpha coefficient) equals 0.8803 element analysis (Factor Analysis) Validity structure (Construct Validity) found. 22 items of questions about attitudes and perceptions shape composed of four elements that can explain the variation in the study was the percentage 51.81 The survey found that teens make the response rate was 42.0 Analysis of the relationship between different factors to. to lose weight with the chi-square t-test and ANOVA (Analysis of Variance) as well as finding the equations predict the decision to reduce the weight of the adolescent regression Logistics (Logistic Pegression Analysis). found that most teenagers are unhappy with the shape of their own, often to the extent that the shape of their weight than truth and with over BMI standards (BMI), the World Health Organization determined by the teenager and thought themselves overweight cent. 64.7 percent Was in the shape of standard body mass index factors that influence the decision of a teenager is to recognize shapes through peers as Miss Srikwan (2547) studied the relationship between attitudes and behavior to reduce the weight of the past. According to the reference group, perceived behavioral control, and behavior to reduce the weight of the teenage girls of this study was to describe the relationship between attitudes and behavior to reduce the weight of norms, and perceived behavioral control behavior. Reducing the weight of the sample was female teen girls amounted to 90 cases of multi-stage sampling instrument used in the research are four sets of questionnaires attitudes toward weight reduction consisted beliefs. the effect of reducing weight to the questionnaire to assess the effect of weight reduction based on the belief questionnaire consisted norms, beliefs about the expectations of the reference group were motivated to norms. and perceived behavioral control consisted beliefs about the expectations of the reference group were motivated to norms, perceived behavioral control consisted beliefs about controlling behavior ceases. The 14 cabinet with perceived
behavioral control and behaviors to reduce weight through the inquiry content validity and reliability by using Cronbach alpha is equal. 73, .88, .94, .86. , 0.73, 0.81, and. 86 respectively, were analyzed by the standard deviation of the average correlation coefficient of Pearson correlation and multiple regression analysis results are summarized as follows: 1. avoidance behavior. the weight of the teenage girls were moderate (= 59.44), two teenage girls with positive attitude toward reduced weight, a low level (= 23.30), perceived behavioral control are positively correlated significantly with. behavior in female adolescents lose weight (r = .283, p <.05) 4. Attitudes toward reducing weight and deference reference group could predict behavior in adolescents lose weight (= .089, F =. 2.792, p <.05)
Pawina applied Amatanont (2549) Factors associated with a selected drug use behavior among female adolescents lose weight at the end, with the objective to determine the factors associated with drug use behavior decreases. At the end of obese adolescents aged 18-21 years in the amount of 416 samples were divided into two groups who have the habit of using pills totaling 210 people and groups to reduce drug use behaviors. The number of obese people by providing a sample of 206 respondents generic reduce satisfaction-looking measure of the influence of media influence measurement of the influence of family and friends is a measure beliefs about the pills. data analysis, statistics, analysis and classification. (Discriminant Analysis) method of selectively variable traffic classification (Stepwise) using test Wilks' Lamda is a criterion for the selection of variables to analyze the results of the study show that there are five factors that have the power to distinguish between groups. For example, adolescent girls end with and without the habit of using pills These factors include the belief in the efficacy of the pills are not satisfied with the appearance of the influence of the media, the belief in the effect of slimming pills and. Average revenue per month by the five factors can distinguish between the two groups were not statistically significant levels. 001 and the accuracy of prediction of high discrimination power. 97.40
flawless lip because (2549) study the problems of obesity or conditions weighing up of students at three in Bangkok this research is a descriptive study at any moment of time with the objective to study. Likelihood of facing the problem of obesity or overweight at three years of secondary school students in Bangkok and the factors related to coping behaviors obesity or obesity or excess weight conditions were a grade 3. 701 The number of people using personal data questionnaire survey attitudes about obesity questionnaire designed to measure self-concept of adolescent coping questionnaire about their habits to reduce weight and body mass index was classified samples as samples. obese or patients weighing up data were analyzed using descriptive statistics Independence t-test, Pearson correlation, multiple regression results showed that the mean score coping behaviors intellectual chicanery obese or patients weighing more moderate 67.8% behaving reduced. Weight inappropriate 16
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
5. Related research
.Somchai jewelry sequins light (2547).Study attitude and perception about shape and weight requirements stress control among Thai adolescents study analyse cross-sectional aims determine the prevalence and factors affect the demand to reduce the weight of.In the Thai version by application of the theory of rational behavior(Theory of Resasoned Action) base pay in teenage Thai power study on secondary education to the undergraduate of the number of 492 tool in education through the content validity. (Content Validity).(Cronbach 's alpha coefficient) was 0.8803 factor analysis (Factor Analysis) validity structure (Construct Validity) found that the 22 spell about attitude and perception about the shape of 4 elements that can explain the variance in the subject to study the 51.81 survey results show that adolescents to the response rate 42.Analysis of the relationship between 0 factors with the decision to reduce weight by chi-square t-test and analysis of variance (Analysis. Of Variance) as well as finding the decision to reduce weight Tanaka died of adolescents with logistic regression equation (Logistic.Analysis) found that most teenagers are unhappy in their shape often comments that the shape of their own fat than the truth, and with more than BMI standards. (BMI).7 in shape standard according to body mass index factors have great influence on the decision of the youth is shape recognition through the surrounding people such as gerbil Si gifts. (2547).
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: