พฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาระบบจัดการความรู้ เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมกา การแปล - พฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาระบบจัดการความรู้ เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมกา อังกฤษ วิธีการพูด

พฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาระบบจั


พฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาระบบจัดการความรู้ เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา
ชุดนักศึกษาหรือยูนิฟอร์มจัดอยู่ในระเบียบของแต่ละสถาบันที่กำหนดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐในแต่ละระดับให้เป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งชุดนักศึกษานั้นเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของแต่ละสถาบัน เป็นการสร้างวินัย มีความรับผิดชอบ ทำให้รู้สึกถึงความปลอดภัย เป็นสิ่งที่ดีงาม น่าภาคภูมิใจ แสดงถึงความรู้ สติปัญญา แต่ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าการแต่งกายของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งในกรุงเทพ และต่างจังหวัด อยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างน่าเป็นห่วง นิสิต นักศึกษาทั่วประเทศมักจะแต่งกายล่อแหลม โป๊ ไม่เหมาะสม นักศึกษาหญิงนิยมใส่เสื้อผ้ารัดรูป ปล่อยชายเสื้อออกมานอกกระโปรง นุ่งกระโปรงสั้น และมักสวมรองเท้าแตะ หรือรองเท้าแฟชั่น รวมทั้งผมที่มักจะผิดระเบียบอยู่เป็นประจำ เช่น ปล่อยผมยาวสยาย ทำสีผม หรือทำผมตามกระแสแฟชั่นตามดาราทั้งในและต่างประเทศที่กำลังนิยมในปัจจุบัน ส่วนนักศึกษาชาย นิยมสวมรองเท้าแตะ ปล่อยชายเสื้อ เป็นต้น เพราะเข้าใจเป็นสิ่งที่ทำให้ตนเองดูดี มีรสนิยม
ปัญหาการแต่งกายที่ไม่เหมาะสมของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา จากบทความเปลื้องนักศึกษาของศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (2550)กล่าวไว้ว่า กระทรวงวัฒนธรรม (สมัยคุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม)ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ (สมัยรศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ)
สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ จำนวน 30 แห่ง ร่วมกันกำหนด “วาระแห่งชาติ”ว่าด้วยการจัดระเบียบการแต่งกายของนักศึกษา ซึ่งช่วงนั้นก็เกิดกระแสต่อต้านในมุมมองของสิทธิมนุษยชน ยกตัวอย่างเช่น จากการเผยแพร่วารสารสื่อสังวาสเรื่อง “การใช้อำนาจควบคุมเด็กคือวาระแห่งชาติ”ของหทัยรัตน์ สุดา (2550) จากบทความเรื่อง การแต่งกายของนักศึกษากับอำนาจของ บัณฑิต ไกรวิจิตร (2550) และ บทความเรื่อง สิทธิมนษุยชน....กับการแต่งกายของนิสิตนักศึกษาของใบไม้สีชมพู(2552) ทำให้การรณรงค์นั้นยังไม่ประสบผลเท่าที่ควร ซึ่งทำให้กลายเป็นประเด็นที่ว่าชุดนักศึกษาเป็นปัญหาหรือไม่ จากบทความของอาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยอาจารย์ชลวิทย์ เจียรจิตต์ (2552) แต่อย่างไรก็ตามยังมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมถึงสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ร่วมกันระดมความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นยกตัวอย่างเช่มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ (2552) ได้กล่าวถึงโครงการ “อีกนิด เพื่อจุฬา” (A bit more Project) ที่เป็นโครงการรณรงค์ในเรื่องการแต่งกายชุดนักศึกษาที่ถูกระเบียบผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ที่เพิ่งจะเริ่มต้นเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา และจากบทความของรวมคลังความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรมหาวิทยาลัยศรีปทุมโดยPermalink (2551) พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มของเยาวชนดังกล่าว คือ เยาวชนไทยขาดการปลูกฝังในด้าน คุณธรรม จริยธรรม อย่างยั่งยืน อาจจะมีอยู่บ้างแต่ ไม่เกิดผลที่ถาวร ในขณะที่สังคมไทยต้องการเห็นภาพการพัฒนาเยาวชนไทยไปสู่การเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ มีสติ ปัญญา มีความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข
ผลสำรวจเกี่ยวกับปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา (ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ : 2550) พบว่า การแต่งกายของนักศึกษานักศึกษาในปัจจุบันเป็นปัญหาที่ค่อนข้างน่าเป็นห่วง และควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน รวมทั้งยังได้กล่าวถึงการแต่งกายที่ไม่เหมาะสม จะก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม อาทิ การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มขืน ปัญหาจี้ ปล้น วิ่งราวทรัพย์ รวมถึงทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของสถาบันและของตนเอง ไปจนถึงขัดกับวัฒนธรรมอันดีงามของไทย
จากการศึกษา การค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยต่างๆ มีเอกสารและวิทยานิพนธ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับงานวิจัยนี้โดยตรง พอสรุปมาเป็นข้อสนับสนุนได้แก่ Velma Lapointและ Sylvan I.Alleyne [ออนไลน์:2546] ได้สรุปว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องทราบปัญหาเกี่ยวกับนักเรียน เพื่อระดมความคิดในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม ควรมีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนเพื่อเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการแต่งกายและพฤติกรรมรวมถึงความจำเป็นในการแต่งกาย
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการแต่งกาย ของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี โดยใช้ขั้นตอนการจัดการความรู้ของกมลรัตน์ สำเริง (2549) เป็นเครื่องมือ ร่วมกับคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ผู้ปกครอง นายกสโมสรนักศึกษาและตัวแทนนักศึกษาในแต่ละสาขาวิชา เพื่อทำให้งานมีผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการการศึกษา ฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้บริหารคณะวิทยาการจัดการและผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ในด้านการวางแผน การตัดสินใจที่ดี สามารถเชื่อมโยงไปสู่การปฏิบัติทั้งในคณะวิทยาการจัดการและระหว่างคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สอดคล้องกับแนวปรัชญาของคณะวิทยาการจัดการ คือ “สร้างสรรค์คุณภาพคู่คุณธรรม” รวมทั้งเพื่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้นำไปประยุกต์ใช้ และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกิดขึ้นขยายวงกว้างไปได้ทั้งแนวดิ่งและแนวราบอย่างต่อเนื่อง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ด้านงานวิจัย
งานวิจัยนี้ ได้นำแนวคิดทฤษฎีต่างๆมาใช้ ได้แก่
Carla O”Dell และ Jackson Grayson (อ้างถึงในบุญดี บุญญากิจ และคณะ 2547: 21) กล่าวว่า
“การจัดการความรู้” เป็นกลยุทธ์ในการที่จะทำให้คนได้รับความรู้ที่ต้องการ ภายในเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งช่วยทำให้เกิดการแลกเปลี่ยน และนำความรู้ไปปฏิบัติเพื่อยกระดับและปรับปรุงการดำเนินงานขององค์กร ทั้งนี้การจัดการความรู้ไม่ใช่เครื่องมือที่จัดการกับตัวของความรู้โดยตรงแต่เป็นวิธีการที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีระหว่างกันได้
ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช (2548) ได้ให้ความหมายของคำว่า “การจัดการความรู้” เป็นเครื่องมือในการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 4 ประการ คือ เป้าหมายของงาน เป้าหมายการพัฒนาคน เป้าหมายการพัฒนาองค์กร และเป้าหมายความเป็นชุมชน สำหรับความรู้ที่เกี่ยวข้องมี 2 ประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และค
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Student dress habits, knowledge management system to solve the problem of student dress habits. ชุดนักศึกษาหรือยูนิฟอร์มจัดอยู่ในระเบียบของแต่ละสถาบันที่กำหนดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐในแต่ละระดับให้เป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งชุดนักศึกษานั้นเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของแต่ละสถาบัน เป็นการสร้างวินัย มีความรับผิดชอบ ทำให้รู้สึกถึงความปลอดภัย เป็นสิ่งที่ดีงาม น่าภาคภูมิใจ แสดงถึงความรู้ สติปัญญา แต่ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าการแต่งกายของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งในกรุงเทพ และต่างจังหวัด อยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างน่าเป็นห่วง นิสิต นักศึกษาทั่วประเทศมักจะแต่งกายล่อแหลม โป๊ ไม่เหมาะสม นักศึกษาหญิงนิยมใส่เสื้อผ้ารัดรูป ปล่อยชายเสื้อออกมานอกกระโปรง นุ่งกระโปรงสั้น และมักสวมรองเท้าแตะ หรือรองเท้าแฟชั่น รวมทั้งผมที่มักจะผิดระเบียบอยู่เป็นประจำ เช่น ปล่อยผมยาวสยาย ทำสีผม หรือทำผมตามกระแสแฟชั่นตามดาราทั้งในและต่างประเทศที่กำลังนิยมในปัจจุบัน ส่วนนักศึกษาชาย นิยมสวมรองเท้าแตะ ปล่อยชายเสื้อ เป็นต้น เพราะเข้าใจเป็นสิ่งที่ทำให้ตนเองดูดี มีรสนิยม The problem of inappropriate attire of higher education from the articles of the student research center to strip Bangkok University (2550 (2007)), Ministry of culture, said that she edit the Sri Sri Arun (modern. The Minister of culture), in cooperation with the Ministry of education (Prof. Dr. Warakra era. The three Ministers are set to find the help that the Ministry of education). สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ จำนวน 30 แห่ง ร่วมกันกำหนด “วาระแห่งชาติ”ว่าด้วยการจัดระเบียบการแต่งกายของนักศึกษา ซึ่งช่วงนั้นก็เกิดกระแสต่อต้านในมุมมองของสิทธิมนุษยชน ยกตัวอย่างเช่น จากการเผยแพร่วารสารสื่อสังวาสเรื่อง “การใช้อำนาจควบคุมเด็กคือวาระแห่งชาติ”ของหทัยรัตน์ สุดา (2550) จากบทความเรื่อง การแต่งกายของนักศึกษากับอำนาจของ บัณฑิต ไกรวิจิตร (2550) และ บทความเรื่อง สิทธิมนษุยชน....กับการแต่งกายของนิสิตนักศึกษาของใบไม้สีชมพู(2552) ทำให้การรณรงค์นั้นยังไม่ประสบผลเท่าที่ควร ซึ่งทำให้กลายเป็นประเด็นที่ว่าชุดนักศึกษาเป็นปัญหาหรือไม่ จากบทความของอาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยอาจารย์ชลวิทย์ เจียรจิตต์ (2552) แต่อย่างไรก็ตามยังมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมถึงสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ร่วมกันระดมความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นยกตัวอย่างเช่มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ (2552) ได้กล่าวถึงโครงการ “อีกนิด เพื่อจุฬา” (A bit more Project) ที่เป็นโครงการรณรงค์ในเรื่องการแต่งกายชุดนักศึกษาที่ถูกระเบียบผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ที่เพิ่งจะเริ่มต้นเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา และจากบทความของรวมคลังความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรมหาวิทยาลัยศรีปทุมโดยPermalink (2551) พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มของเยาวชนดังกล่าว คือ เยาวชนไทยขาดการปลูกฝังในด้าน คุณธรรม จริยธรรม อย่างยั่งยืน อาจจะมีอยู่บ้างแต่ ไม่เกิดผลที่ถาวร ในขณะที่สังคมไทยต้องการเห็นภาพการพัฒนาเยาวชนไทยไปสู่การเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ มีสติ ปัญญา มีความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ผลสำรวจเกี่ยวกับปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา (ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ : 2550) พบว่า การแต่งกายของนักศึกษานักศึกษาในปัจจุบันเป็นปัญหาที่ค่อนข้างน่าเป็นห่วง และควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน รวมทั้งยังได้กล่าวถึงการแต่งกายที่ไม่เหมาะสม จะก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม อาทิ การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มขืน ปัญหาจี้ ปล้น วิ่งราวทรัพย์ รวมถึงทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของสถาบันและของตนเอง ไปจนถึงขัดกับวัฒนธรรมอันดีงามของไทย จากการศึกษา การค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยต่างๆ มีเอกสารและวิทยานิพนธ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับงานวิจัยนี้โดยตรง พอสรุปมาเป็นข้อสนับสนุนได้แก่ Velma Lapointและ Sylvan I.Alleyne [ออนไลน์:2546] ได้สรุปว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องทราบปัญหาเกี่ยวกับนักเรียน เพื่อระดมความคิดในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม ควรมีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนเพื่อเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการแต่งกายและพฤติกรรมรวมถึงความจำเป็นในการแต่งกาย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการแต่งกาย ของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี โดยใช้ขั้นตอนการจัดการความรู้ของกมลรัตน์ สำเริง (2549) เป็นเครื่องมือ ร่วมกับคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ผู้ปกครอง นายกสโมสรนักศึกษาและตัวแทนนักศึกษาในแต่ละสาขาวิชา เพื่อทำให้งานมีผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการการศึกษา ฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้บริหารคณะวิทยาการจัดการและผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ในด้านการวางแผน การตัดสินใจที่ดี สามารถเชื่อมโยงไปสู่การปฏิบัติทั้งในคณะวิทยาการจัดการและระหว่างคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สอดคล้องกับแนวปรัชญาของคณะวิทยาการจัดการ คือ “สร้างสรรค์คุณภาพคู่คุณธรรม” รวมทั้งเพื่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้นำไปประยุกต์ใช้ และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกิดขึ้นขยายวงกว้างไปได้ทั้งแนวดิ่งและแนวราบอย่างต่อเนื่อง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ด้านงานวิจัย
งานวิจัยนี้ ได้นำแนวคิดทฤษฎีต่างๆมาใช้ ได้แก่
Carla O”Dell และ Jackson Grayson (อ้างถึงในบุญดี บุญญากิจ และคณะ 2547: 21) กล่าวว่า
“การจัดการความรู้” เป็นกลยุทธ์ในการที่จะทำให้คนได้รับความรู้ที่ต้องการ ภายในเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งช่วยทำให้เกิดการแลกเปลี่ยน และนำความรู้ไปปฏิบัติเพื่อยกระดับและปรับปรุงการดำเนินงานขององค์กร ทั้งนี้การจัดการความรู้ไม่ใช่เครื่องมือที่จัดการกับตัวของความรู้โดยตรงแต่เป็นวิธีการที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีระหว่างกันได้
ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช (2548) ได้ให้ความหมายของคำว่า “การจัดการความรู้” เป็นเครื่องมือในการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 4 ประการ คือ เป้าหมายของงาน เป้าหมายการพัฒนาคน เป้าหมายการพัฒนาองค์กร และเป้าหมายความเป็นชุมชน สำหรับความรู้ที่เกี่ยวข้องมี 2 ประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และค
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!

behavior of students, dress, knowledge management system To solve the problem behavior of students dress
.School uniform or uniform in the regulation of each institute was set up according to the policy set in each level to meet the standards. The school uniform is the symbol of each virtual institute is to create discipline.Makes you feel secure, good things. Proud represents knowledge, wisdom, but at present we can see that the dress of students in higher education. The only university in Bangkok and the provinces.The students all over the country, often dress precarious naked inappropriate, female students wear tight clothes. Let out the shirt skirt, wear short skirt and often wear sandals or shoes fashion.Such as flowing long hair from hair or follow the fashion trend according to star both at home and abroad at present กำลังนิยม. The male students prefer wearing slippers. Let the men's shirts, etc., because understanding is what makes their good taste
.The problem of inappropriate dress students for higher education. From the article deprived students of University Research Center (2550) said that the Ministry of culture (high Dame ไขศรี classical.(in Assoc.Dr. project, สามโกเศศ is Ministry of Education)
.Higher education institutions nationwide. The 30 of mutually agreed. "On the national agenda" to organize the dress of the students. Which the currents against in the perspective of human rights, for example.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: