การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักกา การแปล - การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักกา อังกฤษ วิธีการพูด

การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการองค์ก

การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักการบริหารทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา 3) รูปแบบการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนาประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และลูกจ้าง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น จำนวน 20 องค์กร ในเขตจังหวัดชลบุรี โดยมีขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 310 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .9497 วิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ปัจจัยการบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักการทางตะวันตก ระดับบุคคล มีประสบการณ์ความชำนาญในการทำงานมีการถ่ายทอดเทคนิค วิธีการทำงาน ระดับกลุ่มหรือทีมงาน มีการเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ ร่วมกันระหว่างผู้ร่วมงานเพื่อหาแนวทางการทำงาน พัฒนางาน ระดับองค์การ หน่วยงานของสามารถปรับตัวและพัฒนาการทำงานจนเป็นที่ยอมรับของสังคม รูปแบบและวิธีการดำเนินการ ผู้บริหารระดับรองนายกองค์การ/รองหัวหน้าหน่วย งานเป็นผู้ทำโครงการการบริหารจัดการองค์การไปขยายให้ผู้ปฏิบัติงานและมีการกำหนดตัวบุคคลที่มาเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการทำงาน
2. แนวทางการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ด้านสัจจะ ผู้บริหารรักษาระเบียบ มีวินัย ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนร่วมงาน ด้านทมะ ผู้บริหารได้ส่งเสริมพัฒนาตนเองและเพื่อนร่วมงานโดยฝึกอบรมในด้านวิชาการอย่างสม่ำเสมอ ด้านขันติ ผู้บริหารมีความอดทนต่อความยากลำบาก เมื่อมีปัญหาสามารถแก้ไขได้ถูกต้อง ด้านจาคะ ผู้บริหารองค์การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปกครองเพื่อนร่วมงาน มีการให้กำลังใจในการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงานทุกฝ่าย
3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา หลักการบริหารงานสมัยใหม่กับหลักการบริหารงานเชิงพุทธศาสตร์ ในปัจจุบัน การบริหารงานหรือการจัดการองค์กรมีความจำเป็นต้องใช้ศาสตร์ในการบริหารงาน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากโลกในยุคปัจจุบันเป็นระบบทุนนิยม หรือบริโภคนิยมที่แสวงหากำไร และ มีการแข่งขัน เพื่อให้เหนือกว่าคู่แข่ง ทั้งในเชิงบริหารงาน และการพัฒนาองค์กร ให้บรรลุผลตามเป้าหมายขององค์กร จึงมีหลักการบริหารสมัยใหม่เข้ามาเป็นกลยุทธ์ หรือหลักการในการบริหารจัดการ ในขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการทางตะวันตกกำลังสนใจหลักการในทางพระพุทธศาสนามาผสมผสาน และประยุกต์ใช้กับหลักการบริหารจัดการ เพราะเขาถือว่า การที่จะใช้หลักการ วิธีการ หรือเทคนิค ของ นักวิชาการชาวตะวันตก ซึ่งพัฒนาการการบริหารจัดการมาไม่เกิน 100 ปี นั้นยังเป็นหลักการที่ยังยึดกับวัตถุ รวมทั้งมีผู้แพ้ผู้ชนะ เป็นการบริหารจัดการที่มุ่งหวังกำไรและการแข่งขัน ดังนั้นเมื่อนักวิชาการทางตะวันตก ได้เข้ามาศึกษาพระพุทธศาสนา ทำให้เขารู้ว่าศาสตร์แห่งการบริหารจัดการที่ยั่งยืนและดำรงความเป็น มนุษย์ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติสุขนั่นคือ ศาสตร์ในการบริหารจัดการเชิงพุทธศาสตร์
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักการบริหารทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา 3) รูปแบบการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนาประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และลูกจ้าง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น จำนวน 20 องค์กร ในเขตจังหวัดชลบุรี โดยมีขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 310 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .9497 วิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยการบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่ประสบความสำเร็จตามหลักการทางตะวันตก ระดับบุคคล มีประสบการณ์ความชำนาญในการทำงานมีการถ่ายทอดเทคนิค วิธีการทำงาน ระดับกลุ่มหรือทีมงาน มีการเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ ร่วมกันระหว่างผู้ร่วมงานเพื่อหาแนวทางการทำงาน พัฒนางาน ระดับองค์การ หน่วยงานของสามารถปรับตัวและพัฒนาการทำงานจนเป็นที่ยอมรับของสังคม รูปแบบและวิธีการดำเนินการ ผู้บริหารระดับรองนายกองค์การ/รองหัวหน้าหน่วย งานเป็นผู้ทำโครงการการบริหารจัดการองค์การไปขยายให้ผู้ปฏิบัติงานและมีการกำหนดตัวบุคคลที่มาเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการทำงาน 2. แนวทางการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ด้านสัจจะ ผู้บริหารรักษาระเบียบ มีวินัย ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนร่วมงาน ด้านทมะ ผู้บริหารได้ส่งเสริมพัฒนาตนเองและเพื่อนร่วมงานโดยฝึกอบรมในด้านวิชาการอย่างสม่ำเสมอ ด้านขันติ ผู้บริหารมีความอดทนต่อความยากลำบาก เมื่อมีปัญหาสามารถแก้ไขได้ถูกต้อง ด้านจาคะ ผู้บริหารองค์การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปกครองเพื่อนร่วมงาน มีการให้กำลังใจในการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงานทุกฝ่าย
3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการองค์การภาครัฐตามหลักการทางตะวันตกและตามหลักการทางพระพุทธศาสนา หลักการบริหารงานสมัยใหม่กับหลักการบริหารงานเชิงพุทธศาสตร์ ในปัจจุบัน การบริหารงานหรือการจัดการองค์กรมีความจำเป็นต้องใช้ศาสตร์ในการบริหารงาน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากโลกในยุคปัจจุบันเป็นระบบทุนนิยม หรือบริโภคนิยมที่แสวงหากำไร และ มีการแข่งขัน เพื่อให้เหนือกว่าคู่แข่ง ทั้งในเชิงบริหารงาน และการพัฒนาองค์กร ให้บรรลุผลตามเป้าหมายขององค์กร จึงมีหลักการบริหารสมัยใหม่เข้ามาเป็นกลยุทธ์ หรือหลักการในการบริหารจัดการ ในขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการทางตะวันตกกำลังสนใจหลักการในทางพระพุทธศาสนามาผสมผสาน และประยุกต์ใช้กับหลักการบริหารจัดการ เพราะเขาถือว่า การที่จะใช้หลักการ วิธีการ หรือเทคนิค ของ นักวิชาการชาวตะวันตก ซึ่งพัฒนาการการบริหารจัดการมาไม่เกิน 100 ปี นั้นยังเป็นหลักการที่ยังยึดกับวัตถุ รวมทั้งมีผู้แพ้ผู้ชนะ เป็นการบริหารจัดการที่มุ่งหวังกำไรและการแข่งขัน ดังนั้นเมื่อนักวิชาการทางตะวันตก ได้เข้ามาศึกษาพระพุทธศาสนา ทำให้เขารู้ว่าศาสตร์แห่งการบริหารจัดการที่ยั่งยืนและดำรงความเป็น มนุษย์ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติสุขนั่นคือ ศาสตร์ในการบริหารจัดการเชิงพุทธศาสตร์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Education The management of the public sector to achieve the principles of the west and follows the principles of Buddhism aims 1) to study the management of the public sector to achieve the west and follows the principles of Buddhism. 2) to study the management of public organizations based in the west and the principles of Buddhism 3) The management of public organizations based in the west and the principles of the Buddhist population in this study include. Local government officials and employees of the 20 outstanding organizations in Chonburi province. The sample size of 310 was used to collect data. A questionnaire The reliability of. 9497 was analyzed using descriptive statistics, including statistics, the average (mean) and standard deviation (standard deviation) content analysis (Content analysis)
The study found that
one. The management of the public sector to achieve the principles of Western levels we have experienced in working with the transmission of technical work group or team. Learning to think critically is shared between the partners to find solutions to the enterprise development agencies and development work can qualify as socially acceptable. Forms and methods of operation. Deputy Chief Executive / Deputy Chief. A job as a project management organization to expand the operator and have defined the party as a facilitator in the
second. Guidelines for the management of the public sector based on the principles of Buddhism, the truth executives maintain order, discipline, behave as a good role model for colleagues and for my administration has fostered self-development and co-workers by training in academic. Top executives regularly tolerance tolerance difficulties. When a problem can be solved right side from my Executive Officers of good governance principles used to govern colleagues. There is encouragement in the performance of our team for the
third. The relationship between the management of public organizations based in the west and the principles of Buddhism. Management Principles of modern management principles in Buddhist Studies, the current administration or management, organizations are required to use science in management. Inescapably Because in today's world capitalist system. Or a nonprofit consumer and competitive, so rivals. Both in terms of administration And Corporate Development Achieving the goals of the organization. The modern management principles into the strategy. Or the principles of management While Western scholars are interested in the religious mix. And apply the principles of management. He treats The researchers use a method or technique of Western scholars. The development management for less than 100 years, it is a principle that is anchored to the object. The loser is the winner. The management of profit and competition. So when Western scholars He studied Buddhism He knew that the science of sustainable management and maintain. Human beings to live together in peace, that is. Buddhist Studies in Management Science.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
A study on Management of public organization principles and successful management in West ตามหลักการทาง Buddhism aims. 1).2) to study the management of public organization in West and according to the principles of Buddhism 3).The officials and employees of administrative organization of 20 outstanding organization. In Chonburi province. The sample size was 310 people. Tools used in the data collection, analysis..9497 analyzed by using basic statistics is descriptive statistics such as average (mean) and standard deviation (standard deviation). Using content analysis (Content analysis)

1 were found.The management of public organizations succeed according to west, individual experience and experience in working with transfer techniques. How to work, group or team, learning, thinking, analyzingThe development level of organizational units can adapt and development work until accepted by society of. Forms and methods of operation. Executive Vice President / deputy head of organizational units.2.Guidelines for the management of public organizations according to the principles of Buddhism, the truth, and administrators keep order, discipline practice set good examples for their colleagues. The ทมะ.The tolerance administrators have the tolerance of the difficulties. When there is a problem can be solved properly, the executive organization bring good governance, I used to rule the colleagues. The work of colleagues all
.3.The relationship between public organization and management in West according to the principles of Buddhism. The modern management principle and management principles of Buddhism today.The inevitable. Because the world in modern times is the capitalist system. Consumerism at or profit and competition. For better opponents, both the administration and organization development, accomplish the goals of the organization.Or the principle in management. At the same time, scholars are interested in Western principles in Buddhism to blend. And application principle of management because he considered that will use the principles, methods or techniques.The development and management of not more than 100 years. It is also the principle that is based on the object as well as a winner. It is management profit and competition. So when scholars in the West.He knew that the science of management and be sustainable. Human beings to live together in peace that is. Science in the management of
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: