คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อม เป็นชนวนไปสู่การสังคายนากฎหมายโบราณ ซึ่งอย่างน การแปล - คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อม เป็นชนวนไปสู่การสังคายนากฎหมายโบราณ ซึ่งอย่างน อังกฤษ วิธีการพูด

คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อม เป็นชนวนไปส

คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อม เป็นชนวนไปสู่การสังคายนากฎหมายโบราณ ซึ่งอย่างน้อยใช้มาตั้งแต่สมัยอายุธยาเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2347 เป็นปีที่ 22 ในจำนวน 27ปีแห่งการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

สาระสำคัญของคดีประวัติศาสตร์ในปลายรัชกาลที่ 1 ที่นำไปสู้การชำระสะสางกฎหมายเก่านี้มีอยู่ว่า นายบุญศรี ซึ่งเป็นช่างตีเหล็กหลวงได้ถวายฎีกาต่อรัชกาลที่ 1 ร้องทุกข์กล่าวโทษพระเกษมและนายราชาอรรถ ว่า อำแดงป้อมภริยาของตนทำชู้กับนายราชาอรรถแล้วมาฟ้องหย่านายบุญศรี นายบุญศรีไม่ยอมหย่า พระมหาเกษมไม่ฟังคำให้การของนายบุญศรี แต่กลับเจรจาแทะโลมอำแดงป้อม และให้อำแดงป้อมกับนายบุญศรีหย่าขาดจากกันตามกฎหมาย

รัชกาลที่1 ทรงเห็นว่า การที่หญิงนอกใจชายแล้วมาฟ้องหย่าชาย และได้รับอนุญาตให้อย่าได้นี้ไม่เป็นธรรมต่อฝ่ายชาย ทรงเห็นว่า สาเหตุของปัญหาไม่น่าจะเกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ถูกต้องตามความเป็นธรรม เพราะแนวคิดดั้งเดิมถือว่ากฎหมายและความยุติธรรมเป็นเรื่องเดียวกัน แต่น่าจะเกิดจากการลักลอบเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายเพื่อประโยชน์ส่วนตัวมากกว่า จนทำให้กฎหมายวิปริตผิดเพี้ยนจนเสียความยุติธรรมของแผ่นดิน พระองค์ได้ทรงเทียบเคียงกับกรณีที่ได้เคยมีผู้บิดเบือนพระไตรปิฎก และฝ่ายสงฆ์ได้ร่วมกันสังคายนาให้ถูกต้องตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าจนแล้วเสร็จต้นรัชสมัยของพระองค์ จึงมีพระบรมราชโองการให้ตรวจสอบกฎหมายซึ่งบันทึกไว้ในที่ต่างๆ ปรากฏว่ากฎหมายเกี่ยวกับการฟ้องหย่าบัญญัติไว้อย่างถูกต้องตรงกันในทุกแห่ง

รัชกาลที่ 1 จึงโปรดเกล้าให้ “ข้าทูลละอองธุลีพระบาท ที่มีสติปัญญา” ชุดหนึ่งประกอบด้วย อาลักษณ์ ลูกขุน และราชบัณฑิตย์ รวม 11 คน ทำหน้าที่ในการ “ชำระพระราชกำหนดบทพระอายการอันมีอยู่ในหอหลวง ตั้งแต่พระธรรมสารทไปให้ถูกถ้วนตามบาฬีแลเนื้อความ มิให้ผิดเพี้ยนซ้ำกันได้ จัดเป็นหมวดเป็นเหล่าเข้าไว้” หลังจากนั้นพระองค์ได้ “ทรงอุตสาหะทรงชำระดัดแปลงบทอันวิปลาดนั้นให้ชอบโดยยุติธรรมไว้” และทรงให้ใช้กฎหมายที่ได้ชำระสะสางแล้วนี้เป็นบรรทัดฐานใยการวินิจฉัยคดีที่เกิดขึ้นต่อไปในอนาคต การดำเนินการชำระสะสางกฎหมายเก่าโดยบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และมีการประทับตราราชสีห์ คชสีห์และบัวแก้วนี้ ถือว่าเป็นการจัดทำประมวลกฎหมายเก่าของไทยที่เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง” เนื่องจากสัญลักษณ์ของดวงทั้งสาม หรือบางครั้งเรียกว่า “ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1” เนื่องจากได้มีการชำระสะสางและจัดทำขึ้นในสมัยรัชกาลนี้

ประมวลกฎหมายตราสามดวงจึงเป็นหลักฐานทางกฎหมายที่ทำให้สามารถศึกษาค้นคว้ากฎหมายเก่าของไทยได้ในส่วนหนึ่ง การจัดทำประมวลกฎหมายดังกล่าวยังมีความสำคัญถึงสองประการ กล่าวคือ ประการแรกเป็นการยกเลิกโดยเด็ดขาด ซึ่งกฎหมายเก่าที่มิได้ปรากฏในประมวลกฎหมายใหม่นี้ และประการที่2 เป็นการทำให้กฎหมายกรุงศรีอยุธยาถึงที่สุดลงโดยสิ้นเชิง และเป็นการเริ่มต้นอีกสมัยหนึ่งของประวัติศาสตร์กฎหมายไทย กฎหมายตราสามดวงที่ได้ชำระสะสางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2348

การทูลถวายฎีกาของนายบุญศรีในคดีอำแดงป้อมนี้จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการพัฒนากฎหมายของประเทศไทยให้มีความยุติธรรมมากขึ้น หากไม่มีการถวายฎีกาดังกล่าวระบบกฎหมายไทยอาจจะไม่สามารถมายืนอยู่ในจุดที่เป็นอยู่ในปัจจุบันได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อมเป็นชนวนไปสู่การสังคายนากฎหมายโบราณซึ่งอย่างน้อยใช้มาตั้งแต่สมัยอายุธยาเกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2347 เป็นปีที่ 22 ในจำนวน 27ปีแห่งการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สาระสำคัญของคดีประวัติศาสตร์ในปลายรัชกาลที่ 1 ที่นำไปสู้การชำระสะสางกฎหมายเก่านี้มีอยู่ว่านายบุญศรีซึ่งเป็นช่างตีเหล็กหลวงได้ถวายฎีกาต่อรัชกาลที่ 1 ร้องทุกข์กล่าวโทษพระเกษมและนายราชาอรรถว่าอำแดงป้อมภริยาของตนทำชู้กับนายราชาอรรถแล้วมาฟ้องหย่านายบุญศรีนายบุญศรีไม่ยอมหย่าพระมหาเกษมไม่ฟังคำให้การของนายบุญศรีแต่กลับเจรจาแทะโลมอำแดงป้อมและให้อำแดงป้อมกับนายบุญศรีหย่าขาดจากกันตามกฎหมาย รัชกาลที่1 ทรงเห็นว่าการที่หญิงนอกใจชายแล้วมาฟ้องหย่าชายและได้รับอนุญาตให้อย่าได้นี้ไม่เป็นธรรมต่อฝ่ายชายทรงเห็นว่าสาเหตุของปัญหาไม่น่าจะเกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ถูกต้องตามความเป็นธรรมเพราะแนวคิดดั้งเดิมถือว่ากฎหมายและความยุติธรรมเป็นเรื่องเดียวกันแต่น่าจะเกิดจากการลักลอบเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายเพื่อประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าจนทำให้กฎหมายวิปริตผิดเพี้ยนจนเสียความยุติธรรมของแผ่นดินพระองค์ได้ทรงเทียบเคียงกับกรณีที่ได้เคยมีผู้บิดเบือนพระไตรปิฎกและฝ่ายสงฆ์ได้ร่วมกันสังคายนาให้ถูกต้องตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าจนแล้วเสร็จต้นรัชสมัยของพระองค์จึงมีพระบรมราชโองการให้ตรวจสอบกฎหมายซึ่งบันทึกไว้ในที่ต่าง ๆ ปรากฏว่ากฎหมายเกี่ยวกับการฟ้องหย่าบัญญัติไว้อย่างถูกต้องตรงกันในทุกแห่ง รัชกาลที่ 1 จึงโปรดเกล้าให้ "ข้าทูลละอองธุลีพระบาทที่มีสติปัญญา" ชุดหนึ่งประกอบด้วยอาลักษณ์ลูกขุนและราชบัณฑิตย์รวม 11 คนทำหน้าที่ในการ "ชำระพระราชกำหนดบทพระอายการอันมีอยู่ในหอหลวงตั้งแต่พระธรรมสารทไปให้ถูกถ้วนตามบาฬีแลเนื้อความมิให้ผิดเพี้ยนซ้ำกันได้จัดเป็นหมวดเป็นเหล่าเข้าไว้" หลังจากนั้นพระองค์ได้ "ทรงอุตสาหะทรงชำระดัดแปลงบทอันวิปลาดนั้นให้ชอบโดยยุติธรรมไว้" และทรงให้ใช้กฎหมายที่ได้ชำระสะสางแล้วนี้เป็นบรรทัดฐานใยการวินิจฉัยคดีที่เกิดขึ้นต่อไปในอนาคตการดำเนินการชำระสะสางกฎหมายเก่าโดยบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและมีการประทับตราราชสีห์คชสีห์และบัวแก้วนี้ถือว่าเป็นการจัดทำประมวลกฎหมายเก่าของไทยที่เรียกว่า "กฎหมายตราสามดวง" เนื่องจากสัญลักษณ์ของดวงทั้งสามหรือบางครั้งเรียกว่า "ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1" เนื่องจากได้มีการชำระสะสางและจัดทำขึ้นในสมัยรัชกาลนี้ ประมวลกฎหมายตราสามดวงจึงเป็นหลักฐานทางกฎหมายที่ทำให้สามารถศึกษาค้นคว้ากฎหมายเก่าของไทยได้ในส่วนหนึ่งการจัดทำประมวลกฎหมายดังกล่าวยังมีความสำคัญถึงสองประการกล่าวคือประการแรกเป็นการยกเลิกโดยเด็ดขาดซึ่งกฎหมายเก่าที่มิได้ปรากฏในประมวลกฎหมายใหม่นี้ และประการที่2 เป็นการทำให้กฎหมายกรุงศรีอยุธยาถึงที่สุดลงโดยสิ้นเชิงและเป็นการเริ่มต้นอีกสมัยหนึ่งของประวัติศาสตร์กฎหมายไทยกฎหมายตราสามดวงที่ได้ชำระสะสางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 31 มกราคมพ.ศ. 2348 การทูลถวายฎีกาของนายบุญศรีในคดีอำแดงป้อมนี้จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการพัฒนากฎหมายของประเทศไทยให้มีความยุติธรรมมากขึ้นหากไม่มีการถวายฎีกาดังกล่าวระบบกฎหมายไทยอาจจะไม่สามารถมายืนอยู่ในจุดที่เป็นอยู่ในปัจจุบันได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อม พ.ศ. 2347 เป็นปีที่ 22 ในจำนวน 1 นายบุญศรี 1 ว่า นายบุญศรีไม่ยอมหย่า แต่กลับเจรจาแทะโลมอำแดงป้อม ทรงเห็นว่า ทรงเห็นว่า 1 จึงโปรดเกล้าให้ "ข้าทูลละอองธุลีพระบาทที่มีสติปัญญา" ชุดหนึ่งประกอบด้วยอาลักษณ์ลูกขุนและราชบัณฑิตย์รวม 11 คนทำหน้าที่ในการ มิให้ผิดเพี้ยนซ้ำกันได้จัดเป็นหมวดเป็นเหล่าเข้าไว้ "หลังจากนั้นพระองค์ได้ และมีการประทับตราราชสีห์คชสีห์และบัวแก้วนี้ "กฎหมายตราสามดวง" เนื่องจากสัญลักษณ์ของดวงทั้งสามหรือบางครั้งเรียกว่า "ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1" กล่าวคือประการแรกเป็นการยกเลิกโดยเด็ดขาด และประการที่ 2 1 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.









การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
คดีฟ้องหย่าของอำแดงป้อมเป็นชนวนไปสู่การสังคายนากฎหมายโบราณซึ่งอย่างน้อยใช้มาตั้งแต่สมัยอายุธยาเกิดขึ้นในปีพ . ศ . ในเป็นปีที่ 22 ในจำนวน 27 ปีแห่งการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

สาระสำคัญของคดีประวัติศาสตร์ในปลายรัชกาลที่ 1 ที่นำไปสู้การชำระสะสางกฎหมายเก่านี้มีอยู่ว่านายบุญศรีซึ่งเป็นช่างตีเหล็กหลวงได้ถวายฎีกาต่อรัชกาลที่ 1 ร้องทุกข์กล่าวโทษพระเกษมและนายราชาอรรถว่านายบุญศรีไม่ยอมหย่าพระมหาเกษมไม่ฟังคำให้การของนายบุญศรีแต่กลับเจรจาแทะโลมอำแดงป้อมและให้อำแดงป้อมกับนายบุญศรีหย่าขาดจากกันตามกฎหมาย

รัชกาลที่ 1 ทรงเห็นว่าการที่หญิงนอกใจชายแล้วมาฟ้องหย่าชายและได้รับอนุญาตให้อย่าได้นี้ไม่เป็นธรรมต่อฝ่ายชายทรงเห็นว่าสาเหตุของปัญหาไม่น่าจะเกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ถูกต้องตามความเป็นธรรมแต่น่าจะเกิดจากการลักลอบเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายเพื่อประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าจนทำให้กฎหมายวิปริตผิดเพี้ยนจนเสียความยุติธรรมของแผ่นดินพระองค์ได้ทรงเทียบเคียงกับกรณีที่ได้เคยมีผู้บิดเบือนพระไตรปิฎกจึงมีพระบรมราชโองการให้ตรวจสอบกฎหมายซึ่งบันทึกไว้ในที่ต่างๆปรากฏว่ากฎหมายเกี่ยวกับการฟ้องหย่าบัญญัติไว้อย่างถูกต้องตรงกันในทุกแห่ง

รัชกาลที่ 1 จึงโปรดเกล้าให้ " ข้าทูลละอองธุลีพระบาทที่มีสติปัญญา " ชุดหนึ่งประกอบด้วยอาลักษณ์ลูกขุนและราชบัณฑิตย์รวม 11 คนทำหน้าที่ในการ " ชำระพระราชกำหนดบทพระอายการอันมีอยู่ในหอหลวงมิให้ผิดเพี้ยนซ้ำกันได้จัดเป็นหมวดเป็นเหล่าเข้าไว้ " หลังจากนั้นพระองค์ได้ " ทรงอุตสาหะทรงชำระดัดแปลงบทอันวิปลาดนั้นให้ชอบโดยยุติธรรมไว้ "การดำเนินการชำระสะสางกฎหมายเก่าโดยบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและมีการประทับตราราชสีห์คชสีห์และบัวแก้วนี้ถือว่าเป็นการจัดทำประมวลกฎหมายเก่าของไทยที่เรียกว่า " กฎหมายตราสามดวง "หรือบางครั้งเรียกว่า " ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 " เนื่องจากได้มีการชำระสะสางและจัดทำขึ้นในสมัยรัชกาลนี้

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: