ชื่อเรื่อง  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัด การแปล - ชื่อเรื่อง  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัด อังกฤษ วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์

ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขา
ผู้วิจัย นางสาวสุพัทยา สารพล, นางสาวพรรณวดี ศรีเสมอและนางสมฤดี บุญเหลือ
หน่วยงานศัลยกรรมกระดูกชาย โรงพยาบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
ผู้นำเสนอ นางสาวสุพัทยา สารพลและนางสาวพรรณวดี ศรีเสมอ
บทนำและวัตถุประสงค์ การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาโรงพยาบาลศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2555ระหว่างวันที่ 1ตุลาคม 2554 –กันยายน2555 เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความปวดและปัจจัยที่มีผลต่อระดับความปวดของผู้ป่วย
วิธีการศึกษา ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ป่วยอายุ 15ปีขึ้นไปที่เข้ารับการผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาในตึกศัลยกรรมหญิง ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย ตึกพิเศษ60เตียง ตึกพิเศษประกันสังคม ตึกสงฆ์ ปีงบประมาณ 2555โดยศึกษาในกลุ่มประชากรทั้งหมด จำนวน 141 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย รายละเอียดเกี่ยวกับการรักษาและการผ่าตัด เก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ได้แก่ Chi square และ Fisher Exact test
ผลการศึกษา ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาโรงพยาบาลศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2555ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 51.1 ,อายุ 65ปีขึ้นไป ร้อยละ 34,การศึกษาระดับมัธยมศึกษาลงมา ร้อยละ 75.9, ทำเกษตรกรรมร้อยละ 44, สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 56.7,ไม่มีโรคประจำตัวร้อยละ93.6 , ไม่เคยได้รับการผ่าตัดมาก่อนร้อยละ 90.8, ใช้ระยะเวลาในการผ่าตัด60-90นาทีร้อยละ 41.8, ตำแหน่งของกระดูกที่หักเป็นส่วนของกระดูก proximal of femur ร้อยละ 48.9 ,มีความปวดอยู่ในระดับปานกลาง( 4-6 คะแนน ) ร้อยละ 45.4 และได้รับการจัดการความปวด ร้อยละ 77, ภายในเวลา 1-5 นาทีร้อยละ 56.7 เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า เพศ อายุ การจัดการความปวด และระยะเวลาในการจัดการความปวดโดยใช้ยา เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุปและข้อเสนอแนะ ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขามีระดับความปวดอยู่ในระดับปานกลางและตัวแปรเพศ อายุ การจัดการความปวด และระยะเวลาในการจัดการความปวดมีผลต่อระดับความปวดของผู้ป่วยดังนั้นพยาบาลควรมีการประเมินความปวดหลังผ่าตัดและทำการบันทึกทางการพยาบาลเกี่ยวกับ
การจัดการความปวดในเวชระเบียน อย่างถูกต้อง ครบถ้วนเพื่อเป็นหลักฐานทางการพยาบาล ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาล และเป็นประโยชน์ในการสืบค้นข้อมูลย้อนหลัง
ชื่อเรื่องวิจัย ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขา
ผู้วิจัย นางสาวสุพัทยา สารพล, นางสาวพรรณวดี ศรีเสมอและนางสมฤดี บุญเหลือ
หน่วยงานศัลยกรรมกระดูกชาย โรงพยาบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
ผู้นำเสนอ
1. นางสาวสุพัทยา สารพล ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โทรศัพท์ 08-17606430 e-mail. mookbkk@hotmail.com
2. นางสาวพรรณวดี ศรีเสมอ ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โทรศัพท์ 08-20150403 e-mail .pulisohail@hotmail.com
บทนำ ความปวดหลังผ่าตัดเป็นความปวดชนิดเฉียบพลัน ซึ่งเป็นปัญหาอันดับแรกที่ผู้ป่วยทางศัลยกรรมต้องเผชิญ สาเหตุมาจากเนื้อเยื่อและเส้นประสาทได้รับความชอกช้ำและถูกทำลาย มีการบวมดึงรั้งและหดตัวของกล้ามเนื้อที่ได้รับบาดเจ็บ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บปวด ดังนั้นจึงได้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กที่กระดูกต้นขา เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ทำให้บุคคลมีความเจ็บปวดที่แตกต่างกัน จะได้นำผลการศึกษามาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการทางคลินิกด้านการจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กที่กระดูกต้นขาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการได้รับการดูแลการจัดการความปวด และเพิ่มระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลตามแนวคิดการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
วิธีการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดดามเหล็กที่กระดูกต้นขา ที่มารับการรักษาที่ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย ตึกศัลยกรรมหญิง ตึกพิเศษ 60เตียง ตึกพิเศษประกันสังคม และตึกสงฆ์ ปีงบประมาณ 2555 ประชากรได้แก่ผู้ป่วยชายและหญิงที่มีการหักของกระดูกต้นขาแบบปิดและได้รับการผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาจำนวน 141 คน โดยใช้แบบบันทึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประเมินผลเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ใช้สถิติพรรณนา(Descriptive statistic) ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับอธิบายข้อมูลทั่วไป การรักษาและการผ่าตัดของกลุ่มประชากร และใช้ สถิติวิเคราะห์ ( Analytical statistic)วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขา ได้แก่ Chi -square และ Fisher Exact test
ผลการศึกษา ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาโรงพยาบาลศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2555ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 51.1 , อายุ 65ปีขึ้นไป ร้อยละ 34, การศึกษาระดับมัธยมศึกษาลงมา ร้อยละ 75.9 , ไม่ได้ทำเกษตรกรรมร้อยละ 56, สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 56.7 , ไม่มีโรคประจำตัวร้อยละ93.6 , ไม่เคยได้รับการผ่าตัดมาก่อนร้อยละ 90.8, ใช้ระยะเวลาในการผ่าตัด60-90นาทีร้อยละ 41.8, ตำแหน่งของกระดูกที่หักเป็นส่วนของกระดูก proximal of femur ร้อยละ 48.9 ,มีความปวดอยู่ในระดับปานกลาง( 4-6 คะแนน) ร้อยละ 45.4 และได้รับการจัดการความปวด ร้อยละ 77, ภายในเวลา 1-5 นาทีร้อยละ 56.7
เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า เพศ อายุ การจัดการความปวด และระยะเวลาในการจัดการความปวดโดยใช้ยา เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขา
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ข้อเสนอแนะ
1. เนื่องจากระยะเวลาในการจัดการความปวดมีผลต่อระดับความปวด พยาบาลต้องตระหนักและประเมินความปวดใน 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดทุกระยะ และเชื่อตามระดับความปวดที่ผู้ป่วยบอกและจัดการความปวดทันทีภายใน 5 นาที เพื่อให้ผู้ป่วยบรรเทาความทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด ส่งผลให้มีความสามารถในการฟื้นฟูร่างกายได้เร็วขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนและระยะเวลานอน
2. พยาบาล
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Title Factors relating to the patient's pain levels after surgery to reinforce steel femur.Ms. Suphatya researcher Ms. Si Phanwadi, an army chemical and Mrs. Somridi bun. Men's bone surgery unit. Sisaket Province, SI SA KET hospital.Ms. Suphatya presenter Ms. Sri Phanwadi and additives.Introduction and purpose Research about factors relating to the patient's pain levels after surgery to reinforce steel femur SI SA KET hospital. A fiscal year is October 1, 2011-2555 (2012) between September 2555 (2012) research study aims to describe the level of pain and the factors that affect the level of the patient's pain. How to study Population 15 years of age, the patient is studied up to reinforce having steel buildings in the femur surgery (female) Building bone surgery (male) Extra bed 60 building. Special social security building. Monastic building, 2555 (2012) fiscal year by students in all population groups. The number of 141 people, a tool used in the research include the save data, which consists of. General information of the patient. Details about the treatment and surgery. Collect data from medical records. Data analysis using descriptive statistics such as averages per cent standard deviation statistics analysis: Chi square and Fisher Exact test. Study results Patients who received surgery to reinforce steel femur SI SA KET hospital. 2555 (2012) fiscal year, mainly male, 51.1 per cent aged 65 years or above. 34 percent, the secondary education. Agricultural work 75.9 per cent, 44 per cent, even marital status. 56.7 percent, there are no medical conditions, 93.6 percent. He has never had surgery before, 90.8 per cent, takes 60-90 minute surgery 41.8 percent, the position of the bone that is part of a broken bone. Proximal femur of 48.9 per cent, having pain is moderate (4-6. PTS) 45.4 per cent and 77 per cent in pain management, within 1-5 minutes 56.7 per cent when tested was found to be the relationship, age, sex, duration of pain management and pain management using drugs as factors relating to the level of pain after surgery to reinforce steel femur statistical significant.Summary and recommendations Patients who received surgery to reinforce steel femur has pain in the medium variant, gender and age, managing pain and pain management in time to affect the patient's pain level is hence nurses should evaluate pain after the surgery and made notes on nursing.Managing pain in the medical records are correctly to be evidence on nursing. Use the information in the planning of nursing and is useful for tracing historical information.Title research Factors relating to the patient's pain levels after surgery to reinforce steel femur.Ms. Suphatya researcher Ms. Si Phanwadi, an army chemical and Mrs. Somridi bun.Men's bone surgery unit. Sisaket Province, SI SA KET hospital. Presenter1. Ms. Suphatya Chemical troops Building bone surgery (male) SI SA KET hospital.Phone mookbkk@hotmail.com e-mail 17606430-8.2. Ms. Sri Phanwadi. Building bone surgery (male) SI SA KET hospital.Phone .pulisohail@hotmail.com e-mail 20150403-8 บทนำ ความปวดหลังผ่าตัดเป็นความปวดชนิดเฉียบพลัน ซึ่งเป็นปัญหาอันดับแรกที่ผู้ป่วยทางศัลยกรรมต้องเผชิญ สาเหตุมาจากเนื้อเยื่อและเส้นประสาทได้รับความชอกช้ำและถูกทำลาย มีการบวมดึงรั้งและหดตัวของกล้ามเนื้อที่ได้รับบาดเจ็บ ทำให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บปวด ดังนั้นจึงได้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กที่กระดูกต้นขา เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ทำให้บุคคลมีความเจ็บปวดที่แตกต่างกัน จะได้นำผลการศึกษามาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการทางคลินิกด้านการจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กที่กระดูกต้นขาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการได้รับการดูแลการจัดการความปวด และเพิ่มระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลตามแนวคิดการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดดามเหล็กที่กระดูกต้นขา ที่มารับการรักษาที่ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย ตึกศัลยกรรมหญิง ตึกพิเศษ 60เตียง ตึกพิเศษประกันสังคม และตึกสงฆ์ ปีงบประมาณ 2555 ประชากรได้แก่ผู้ป่วยชายและหญิงที่มีการหักของกระดูกต้นขาแบบปิดและได้รับการผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขาจำนวน 141 คน โดยใช้แบบบันทึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประเมินผลเบื้องต้นด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ใช้สถิติพรรณนา(Descriptive statistic) ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับอธิบายข้อมูลทั่วไป การรักษาและการผ่าตัดของกลุ่มประชากร และใช้ สถิติวิเคราะห์ ( Analytical statistic)วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดดามเหล็กกระดูกต้นขา ได้แก่ Chi -square และ Fisher Exact test Study results Patients who received surgery to reinforce steel femur SI SA KET hospital. 2555 (2012) fiscal year, mainly male, 51.1 per cent aged 65 years or above. 34 percent, the secondary education. 75.9 per cent, 56 per cent in agriculture has not been made, even marital status. 56.7 percent, there are no medical conditions, 93.6 percent. He has never had surgery before, 90.8 per cent, takes 60-90 minute surgery 41.8 percent, the position of the bone that is part of a broken bone. Proximal femur of 48.9 per cent, having pain is moderate (4-6. PTS) 45.4 per cent and 77 per cent in pain management, within 1-5 minutes 56.7 percent. To test the relationships found that gender, age, duration of pain management and pain management using drugs as factors relating to the level of pain after surgery to reinforce steel femur.Statistical significance Suggestion 1. because of how long it will take to manage the pain affects the level of pain. Nurses need to recognize and assess the pain in the first 24 hours after surgery, and do according to the level of pain the patient is told and manage pain as soon as within 5 minutes to relieve patients suffering from pain. As a result, with the ability to refresh the body faster. Reducing complications and duration of sleep2. nursing.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Title factors that are correlated with the level of pain of patients after surgical steel splint bone
research. Ms. Pattaya substances General, Ms. Wadi species. Sri always, and Somruedee He left
the agency Orthopedics men. Si Sa Ket Hospital Sisaket
Presenter Ms. Pattaya General and Ms. species of wadi Always Sri
Introduction and Objectives The research on factors related to the level of pain of patients after surgical steel splint bone Sisaket hospital during fiscal year 2555 on October 1, 2554 - September 2555 a descriptive study. The purpose is to study the level of pain and the factors affecting the level of pain of patients
to the study. The study population was patients aged 15 years and older who underwent surgical steel splint bone surgery, women in the building. Building orthopedic Men Building 60 beds Special Building Social Security Building monastic education in fiscal year 2555 by the entire population of 141 was used in the study. Data Form, which includes Patient Information Details about the treatment and surgery. Data were collected from medical records Data were analyzed using descriptive statistics including average percent standard deviation. Statistical analysis included Chi square and Fisher Exact test
results. Patients who had surgery to mend steel femoral Sisaket hospital FY 2555, mainly males, 51.1 percent, 65 to 34 per cent, secondary education, lower percentage 75.9, agriculture 44 percent. , married, 56.7 percent, 93.6 percent without any disease, never had surgery before, 90.8 percent, the surgery takes 60-90 minutes to 41.8 percent, the placement of a bone fracture proximal. 48.9 percent of femur, with pain is moderate (4-6 points), 45.4 percent and 77 percent pain management, within 1-5 minutes 56.7 percent when tested relationship that age. Pain management And duration of pain management by the drug. Among the factors that were associated with the degree of pain Welt steel femoral significant statistical
conclusions and recommendations. Patients who had surgery on a thigh bone with a metal splint pain is moderate and depending on sex, age and pain management. And duration of pain management affect the level of pain of patients Nurses should have assessed the pain and record the nurse about
pain management in medical records accurately as evidence in nursing. Use the information to plan nursing. And was instrumental in the search after
the title research. Factors related to the level of pain of patients after surgical steel splint bone
research. Ms. Pattaya substances General, Ms. Wadi species. Sri always, and Somruedee He left
the agency Orthopedics men. Si Sa Ket Hospital Sisaket
presenter
1. Ms. Pattaya General Building Materials Orthopedics men. Sisaket hospital
phone 08-17606430 E-mail. Mookbkk@hotmail.com
2. Ms. species Wadi Sri always building Orthopedics men. Sisaket hospital
phone 08-20150403 e-mail .pulisohail @ hotmail.com
Introduction. The pain is acute pain. The first problem is that patients facing surgery. Caused by tissue and nerves are shattered and destroyed. Swelling and contraction of a muscle pull injury. Patients suffering from pain. Therefore, the factors that are correlated with the level of pain of patients after surgery metal splint bone. To learn about the factors that make a person has a different pain. The results will be used to improve the quality of clinical laboratories in the field of pain management in patients after surgical steel splint bone to increase efficiency. To increase the satisfaction of patients to receive care and pain management. And enhance the quality of healthcare by improving the quality of the hospital,
how to study. This research is a descriptive study. The data were collected from medical records of patients who had surgery metal splint bone. The man was treated at the Orthopedic Building. Building female surgical building 60-bed building special social security and building disciplines fiscal year 2555 the population consisted of male and female patients with fractures of the thigh bone off and had surgery to mend steel femoral 141 people using the notes. The researchers created A preliminary evaluation by computer, using software packages. Use descriptive statistics (Descriptive statistic), including the percentage, average and standard deviation for the data. Treatment and surgery of demographic and statistical analysis (Analytical statistic) analysis of factors related to the level of pain of patients after surgical steel splint bone, including Chi -square and Fisher Exact test
results. Patients who had surgery to mend steel femoral Sisaket hospital FY 2555, mainly males, 51.1 percent, 65 to 34 per cent, secondary education, lower percentage 75.9, not agriculture cent. 56 percent, 56.7 percent were married, 93.6 percent without any disease, never had surgery before, 90.8 percent, the surgery takes 60-90 minutes, 41.8 percent, is the position of the broken bone. proximal of femur bone was 48.9 percent, the pain is moderate (4-6 points), 45.4 percent and 77 percent pain management, within 1-5 minutes, 56.7 percent
found when testing the relationship. sex, age, pain management And duration of pain management by the drug. Among the factors that were associated with the degree of pain Welt steel femoral
significant statistical
suggestions
first. The duration of pain management affect the level of pain. Nurses need to recognize and assess the pain in the first 24 hours after surgery all the time. And that the degree of pain and pain management patients tell within five minutes to relieve patients suffering from pain. This results in the ability to recover faster. Reduce complications and long sleep
two. Nurse
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Title factors associated with pain in patients with postoperative femoral bone splint steel
researcher Ms. Supatra Aditya substance, Admiral. Miss punwadee Si always and her consciousness. The merit left
.Agency male hospital orthopedic Sisaket province
presented miss Supatra Aditya of troops and miss punwadee Si always
.Introduction and objectives. Research on factors associated with pain in patients with postoperative welt steel bone thigh Si SA ket for fiscal year 2555 during 1 October 2554 - September 2555 descriptive research
.The study population consisted of patients age 15 years undergoing welt steel bones thigh in surgery ward female orthopedic ward. Special building 60 bed, building social security building of special fiscal year.The 141 people the tools used in the research. Data, which consists of a general information of patients, details about the treatment and surgery. Data were collected from medical records. Were analyzed by using descriptive statistics.The mean percentage, standard deviation, statistical analysis, including Chi square Fisher Exact and test
.The patients received surgery unite steel femur Si SA ket in 2555 are mostly male, were 51.1 age. 65 years percent, down 34 secondary education (75.9, agriculture, and 44Status of marriage and 56.7, no disease of 93.6, never had surgery before and 90.8 duration of surgery, 60-90 minutes per cent 41.8, position of the bone fracture is the part of the bone. Proximal of femur 48.9 percent,The pain is moderate (4-6 points) were 45.4 and get pain management (77, within 1-5 minutes per cent 56.7 when testing the relationship found that gender, age, pain management, and duration of pain management using drugs. Factors correlated with the level of pain after surgery unite steel femur significantly
.Conclusion and suggestions. Surgery patients with pain in the thigh bone splint steel in medium and ตัวแปรเพศ, age, pain management.Pain management in the medical record, accurate, complete, as evidence in nursing. Data used in the planning of nursing care. And helpful in tracing the historical data
.Title Research. Factors associated with pain in patients with postoperative femoral
the welt steel research, MS Supatra Aditya of troops, MS punwadee. Si always and her consciousness. The merit left
.Agency male hospital orthopedic Sisaket province

1 presenters. Ms. Supatra Aditya substance. Orthopedic hospital building man si
telephone 08-17606430 e-mail.? Mookbkk@hotmail.com
2.Miss punwadee Si always orthopedic hospital building man si
telephone 08-20150403 e-mail. Pulisohail@hotmail.com
.Introduction, pain after surgery is a type of pain acute. Which is the first patient in surgery must face. Caused by nerve tissue and get hurt and destroyed.The patient is suffering from the pain. Therefore, to study the factors related to the level of pain of postoperative patients welt steel femur
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: