Decoration (DECORATION), refers to the arrangement of ornamental beauty of the building. Place both inside and outside the building including the surrounding area of the building. By using the artifacts created or adapted from natural brush for finishing. In order to meet the needs of the functional and aesthetic value.ในปัจจุบันการตกแต่งก็อาจหมายถึง ภาพจิตรกรรมที่เขียนขึ้น หรือรูปประติมากรรมสำหรับประดับภายในอาคาร สถาปัตยที่เรียกว่าศิลปตกแต่ง (DECORATIVE ARTS ) ศิลปะเพื่อศิลปะบริสุทธิ์ ( PURE ARTS ) ปัจจุบันนี้การตกแต่งยังหมายถึง การกำหนดโครงสีตกแต่งภายในอาคาร ในห้อง การออกแบบกำหนดสีพรม การออกแบบเครื่องเรือน ( FURNITURE ) รูปภาพ รูปปั้น และสิ่งประดับเพื่อความสวยงามเหล่านี้เป็นต้นศิลปตกแต่งหรือมัณฑนศิลป์( DECORATIVE ARTS OR MINOR ARTS )Refers to the makings of buzzwords, art type called chunsin, such as reclamation technicians. Goldsmith, silversmith glass technicians Technician, pottery and other decorative arts, artisan these to benefit trade, it might be called a "phanityasin" is a word that applied arts (APPLIED ARTS), art & decorative art is to use for the object, which is used in accordance with the ordinary. This is why the phanityasin of Arts, applied arts, and thus match the décor.The history of decoration.Decorative arts the decorative arts or this is that humans learn from prehistory (PREHISTORIC PERIOD) in older humans start to kahin Yu decorated caves used as a residence in the castle can be found from the decorative color painting on cave walls such as Altamira (cave (ALTARMIRA), which is located to the South of Spain. In a later era, the new stone age.Later, in modern history. Art created for religious reasons, to the King, or the history of a large part of the work consists of painting. ( PAINTING ) ประติมากรรม ( SCULPTURE ) การประกอบกระเบื้องสี ( MOSAIC ) ภาพประดับกระจกสี ( STAINEDGLASS ) โดยทำเป็นเรื่องของเทพเจ้าต่าง ๆ เกี่ยวกับทางศาสนาหรือพิธีการต่าง ๆในปัจจุบัน ศิลปะการตกแต่งได้เปลี่ยนไปจากเดิมบ้างเพราะทางสถาปัตยกรรมได้เปลี่ยนแปลงรูปทรงไปจากสมัยโบราณมาก สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ถือความเรียบง่ายมีโครงสร้างเป็นเหลี่ยมเป็นแท่งตรงไปตรงมา จึงมีวิธีการตกแต่งต่างกันไปตามลักษณะการใช้สอย ความจำเป็นและสภาพทางเศษฐกิจลักษณะของอาคารที่ใช้ตกแต่งแยกลักษณะของอาาคารโดยคำนึงถึงหน้าที่ของอาคารแต่ละประเภทออกเป็น 4 ลักษณะด้วยกันคือ1. อาคารของทางราชการ ( OFFICIAL BUILDING )2. อาคารสาธารณะ ( PUBLIC BUILDING )3. อาคารพาณิชย์ ( COMMERCIAL BUILDING )4. อาคารส่วนบุคคล ( PRIVATE BUILDING )ลักษณะที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนของอาคารแต่ละประเภทที่มีหน้าที่เฉพาะเจาะจงไม่เหมือนกันจึงเป็นตัวนำความคิดหลักในการออกแบบตกแต่ง อย่างสอดคล้องเหมาะสมตามหน้าที่ใช้สอยและความงาม จึงทำให้เกิดมีลักษณะอาคารที่มีรูปแบบและหน้าที่ใช้สอยที่แปลกตาออกไป โดยเน้นเรื่องประโยชน์ใช้สอยของพื้นที่มากยิ่งขึ้นรูปแบบของอาคารจึงเป็นลักษณะการออกแบบผสมผสานระหว่างอาคารพาณิชย์และอาคารส่วนบุคคลที่มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปลักษณะงานสำหรับการตกแต่งการตกแต่งจะคำนึงถึงวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ ประการแรกเป็นการออกแบบตกแต่งเพื่อตอบสนองทางร่างกาย ประการที่สองเป็นการออกแบบตกแต่งเพื่อตอบสนองทางด้านจิตใจซึ่งสองประเภทนี้จำแนกออกได้ตามลักษณะหน้าที่ใช้สอยและหน้าที่การตกแต่งเป็น 4 ประเภทคือ1. รูปภาพหรือภาพเขียนตกแต่ง ( PICTURE OR DECORATIVE PAINTING )2. ภาพปั้น-แกะสลัก เพื่อตกแต่ง ( DECORATIVE SCULPTURE )3. เครื่องเรือนหรือคุรุภัณฑ์ ( FURNITURE )4. ประเภทสิ่งบันเทิงและสิ่งประดับ ( ENTERTAMENT AND DECORATION )หลักเบื้องต้นในการออกแบบตกแต่ง1. เส้น ( LINE ) เป็นส่วนประกอบพื้นฐานสำคัญในการออกแบบ เพราะเส้นจะเป็นองค์ประกอบที่ทำให้เกิดรูปทรง รูปร่างที่จะนำไปใช้ในการตกแต่งลักษณะของเส้นจะให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไปดังนี้
เส้นตรง ให้ความรู้สึกแข็ง ตรงไปตรงมา
เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว
เส้นซิกแซก ให้ความรู้สึกยอกย้อน รุนแรง
เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกในทางสูง เด่น สง่างาม
เส้นระดับ ให้ความรู้สึกทางกว้างยาว
เส้นโค้งเป็นแนวคลื่น ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว
เส้นตรงตัดกันเป็นกากบาท ให้ความรู้สึกขัดแย้ง
เส้นก้นหอย ให้ความรู้สึกหมุนเวียน
เส้นแย้ง ให้ความรู้สึก กระด้างหรือการแตกแยก
2. รูปทรง ( FORM ) เกิดจากการนำเส้นมาต่อกันเป็นรูปทรงแปลก ๆ มากมาย และทำให้รู้สึกต่างกันออกไป นอกจากนี้เราได้รูปทรงจากธรรมชาติที่มีความงามในตัวเองเสมอ รูปทรงที่ได้จากการนำเส้นมาต่อกันเป็นรูปทรงใหม่เรียกว่ารูปทรงเลขาคณิต
( GEOMETRICAL FOME ) ที่นำมาใช้ออกแบบเครื่องเรือนเครื่องประดับตกแต่งและสถาปัตยกรรมต่าง ๆ รูปทรงเลขาคณิต ได้แก่
รูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า ให้ความรู้สึกแข็งแรง ไม่เอนเอียง
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้ความรู้สึกกว้างขวาง สง่างาม
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตรง ให้ความรู้สึกสูงเด่น และไม่ปลอดภัย
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ให้ความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย
รูปสามเหลี่ยม ให้ความรู้สึกเด่น สง่า รุนแรง
รูปทรงกลม ให้ความรู้สึกกลมกลืนนุ่มนวล
รูปทรงอิสระ ( FREE FOME ) ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวไม่แน่นอน
3. คุณค่าของแสงและเงา ( CHIAROSCURO ) เมื่อได้ลักษณะของรูปทรง ผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงผลที่จะได้รับจากแสงสว่าง ไม่ว่าจะเป็นแสง
สว่างจากธรรมชาติหรือจากหลอดไฟฟ้าซึ่งจะทำให้เกิดแสงตกทอด อันเป็นผลต่อแสงสว่างภาพในอาคาร และการกำหนดโครงสีภายใน ภายนอกอาคารเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กัน
สีเขียวแก่กับสีเทา ( DARK GREEN-COMBINED WITH GRAYS ) ทำให้เกิดความรู้สึกเศร้า ความชรา ความสงบเงียบ
สีเทากลาง ( MIDDLE GRAYS ) ทำให้เกิดความรู้สึกสงบเงียบ สุภาพ
สีขาวและสีดำอยู่ด้วยกัน ( BLACK AND WHITE TOGETHER ) ทำให้เกิดความหดหู่ใจ เศร้าสลด เงียบเหงา
สีขาว ( WHITE ) ทำให้เกิดความบริสุทธิ์ สดชื่น
4. เนื้อที่และช่องไฟ ( AREA AND SPACE ) ผู้ออกแบบจะต้องออกแบบเครื่องเรือนให้สัมพันธ์กับขนาด ( SIZE ) ของห้อง จัดวางตำแหน่งที่แน่นอนลงไปโดยให้เครื่องเรือนมีความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอยเต็มที่และจัดที่ว่างสำหรับการสัญจรไปมาอย่างสะดวก การออกแบบที่ไม่นึกถึงความสัมพันธ์ของเครื่องเรือนหรือตำแหน่งการจัดวางแล้วอาจทำให้เสียเวลาในการเดินไปเดินมาเพื่อหยิบสิ่งของ เคริ่องใช้เหล่านี้เป็นต้น
5. ผิวสัมผัส ( TEXTURE ) ในการออกแบบแต่ละครั้งผิวสั
การแปล กรุณารอสักครู่..