มาดาม มารี กูรี (Marie Curie) หรือ มาเรีย สโกลโดวสกา (Maria Sklodowska การแปล - มาดาม มารี กูรี (Marie Curie) หรือ มาเรีย สโกลโดวสกา (Maria Sklodowska อังกฤษ วิธีการพูด

มาดาม มารี กูรี (Marie Curie) หรือ

มาดาม มารี กูรี (Marie Curie) หรือ มาเรีย สโกลโดวสกา (Maria Sklodowska) เกิดเมื่อ 7 พ.ย.ปี ค.ศ.1867 ในเมืองวอร์ซอว์ของรัสเซีย ซึ่งต่อมากลายเป็นเมืองหลวงของประเทศโปแลนด์ ในวัยเด็กเธอเรียนในโรงเรียนท้องถิ่นและฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์บ้างจากพ่อ จากนั้นเธอได้เข้าศึกษาทางด้านฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยชอร์บอนน์ (Sorbonne) ในกรุงปารีส ฝรั่งเศส และเมื่อถึงปี 1894 เธอเข้าเรียนที่สถาบันฟิสิกส์ (School of Physics) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เธอได้พบรักกับ ศ.ปิแอรร์ กูรี (Pierre Curie) อาจารย์ฟิสิกส์ของสถาบัน และแต่งงานกันในปีต่อมา

มาดามกูรีรับตำแหน่งหัวหน้าห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ของมหาวิทยาลัยชอร์บอนน์ ต่อจากสามีและได้รับปฏิญญาดุษฎีบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์ในปี 1903 แต่หลังจากนั้น 3 ปีเธอต้องสูญเสียสามีไปกับอุบัติเหตุรถชน และเข้ารับตำแหน่งศาสตราจารย์ฟิสิกส์ทั่วไปของคณะวิทยาศาสตร์แทนสามี ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ผู้หญิงได้รับตำแหน่งนี้ อีกทั้งเธอยังเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการกูรี (Curie Laboratory) ในสถาบันเรเดียม (Radium Institute) ของมหาวิทยาลัยปารีส (University of Paris) ที่ก่อตั้งเมื่อปี 1914

สำหรับงานวิจัยแรกๆ ที่เธอทำร่วมกับสามีนั้น มักจะเผชิญกับสถานการณ์ยากลำบากหลายครั้ง ห้องปฏิบัติการไม่ค่อยมีความพร้อมนัก และทั้งคู่ยังต้องสอนหนังสืออย่างหนักเพื่อหารายได้มาใช้จ่ายเพิ่ม และการค้นพบปรากฏการณ์แผ่รังสีของ อองรี เบคเคอเรล (Henri Becquerel) เมื่อปี 1896 ได้จุดประกายให้คู่สามี-ภรรยากูรีสร้างงานวิจัยและการวิเคราะห์ที่สำคัญ ซึ่งนำไปสู่การแยกธาตุโปโลเนียม (polonium) ที่ตั้งชื่อตามประเทศบ้านเกิดของมาดามกูรี และธาตุเรเดียม (radium)

ต่อมามาดามกูรีได้พัฒนาวิธีเพื่อแยกธาตุเรเดียมออกจากกากกัมมันตรังสี จนได้ปริมาณเพียงพอสำหรับศึกษาลักษณะเฉพาะของธาตุ คุณสมบัติ และคุณสมบัติในการบำบัดรักษาโรค ซึ่งเธอได้สนับสนุนให้ใช้ธาตุเรเดียมนี้เพื่อการบำบัดรักษาโลก และระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 เธอได้อุทิศตัวให้กับงานนี้โดยมีลูกสาวคือ ไอรีน กูรี (Irene Curie) เป็นผู้ช่วย อีกทั้งเธอยังได้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการทางด้านรังสีอีกหลายแห่งในบ้านเกิดเมืองนอนของเธอเอง

ด้านนิสัยส่วนตัวนั้นมาดามกูรีเป็นคนเงียบๆ ถ่อมตัว และมีบุคลิกสง่างาม และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกต่างให้ความนับถือและชื่นชมในตัวเธอ ส่วนความสำคัญในผลงานของเธอนั้นสะท้อนผ่านรางวัลจำนวนมาก เธอได้รับรางวัลอันทงเกียรติทางด้านวิทยาศาสตร์หลายรางวัล ในจำนวนนั้นเป็นรางวัลโนเบลถึง 2 สาขา โดยครั้งแรกเธอได้รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับสามีเมื่อปี 1903 จากการศึกษาการแผ่รังสีอย่างต่อเนื่อง และในปีเดียวกันนี้เธอกับสามียังได้รับรางวัลเหรียญเดวี (Davy Medal) จากราชบัณฑิตอังกฤษ ต่อมาเธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับไอรีนผู้เป็นลูกสาวเมื่อปี 1911 จากงานด้านกัมมันตภาพรังสี
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มาดาม มารี กูรี (Marie Curie) หรือ มาเรีย สโกลโดวสกา (Maria Sklodowska) เกิดเมื่อ 7 พ.ย.ปี ค.ศ.1867 ในเมืองวอร์ซอว์ของรัสเซีย ซึ่งต่อมากลายเป็นเมืองหลวงของประเทศโปแลนด์ ในวัยเด็กเธอเรียนในโรงเรียนท้องถิ่นและฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์บ้างจากพ่อ จากนั้นเธอได้เข้าศึกษาทางด้านฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยชอร์บอนน์ (Sorbonne) ในกรุงปารีส ฝรั่งเศส และเมื่อถึงปี 1894 เธอเข้าเรียนที่สถาบันฟิสิกส์ (School of Physics) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เธอได้พบรักกับ ศ.ปิแอรร์ กูรี (Pierre Curie) อาจารย์ฟิสิกส์ของสถาบัน และแต่งงานกันในปีต่อมา มาดามกูรีรับตำแหน่งหัวหน้าห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ของมหาวิทยาลัยชอร์บอนน์ ต่อจากสามีและได้รับปฏิญญาดุษฎีบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์ในปี 1903 แต่หลังจากนั้น 3 ปีเธอต้องสูญเสียสามีไปกับอุบัติเหตุรถชน และเข้ารับตำแหน่งศาสตราจารย์ฟิสิกส์ทั่วไปของคณะวิทยาศาสตร์แทนสามี ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ผู้หญิงได้รับตำแหน่งนี้ อีกทั้งเธอยังเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการกูรี (Curie Laboratory) ในสถาบันเรเดียม (Radium Institute) ของมหาวิทยาลัยปารีส (University of Paris) ที่ก่อตั้งเมื่อปี 1914 สำหรับงานวิจัยแรกๆ ที่เธอทำร่วมกับสามีนั้น มักจะเผชิญกับสถานการณ์ยากลำบากหลายครั้ง ห้องปฏิบัติการไม่ค่อยมีความพร้อมนัก และทั้งคู่ยังต้องสอนหนังสืออย่างหนักเพื่อหารายได้มาใช้จ่ายเพิ่ม และการค้นพบปรากฏการณ์แผ่รังสีของ อองรี เบคเคอเรล (Henri Becquerel) เมื่อปี 1896 ได้จุดประกายให้คู่สามี-ภรรยากูรีสร้างงานวิจัยและการวิเคราะห์ที่สำคัญ ซึ่งนำไปสู่การแยกธาตุโปโลเนียม (polonium) ที่ตั้งชื่อตามประเทศบ้านเกิดของมาดามกูรี และธาตุเรเดียม (radium) ต่อมามาดามกูรีได้พัฒนาวิธีเพื่อแยกธาตุเรเดียมออกจากกากกัมมันตรังสี จนได้ปริมาณเพียงพอสำหรับศึกษาลักษณะเฉพาะของธาตุ คุณสมบัติ และคุณสมบัติในการบำบัดรักษาโรค ซึ่งเธอได้สนับสนุนให้ใช้ธาตุเรเดียมนี้เพื่อการบำบัดรักษาโลก และระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 เธอได้อุทิศตัวให้กับงานนี้โดยมีลูกสาวคือ ไอรีน กูรี (Irene Curie) เป็นผู้ช่วย อีกทั้งเธอยังได้ก่อตั้งห้องปฏิบัติการทางด้านรังสีอีกหลายแห่งในบ้านเกิดเมืองนอนของเธอเอง ด้านนิสัยส่วนตัวนั้นมาดามกูรีเป็นคนเงียบๆ ถ่อมตัว และมีบุคลิกสง่างาม และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกต่างให้ความนับถือและชื่นชมในตัวเธอ ส่วนความสำคัญในผลงานของเธอนั้นสะท้อนผ่านรางวัลจำนวนมาก เธอได้รับรางวัลอันทงเกียรติทางด้านวิทยาศาสตร์หลายรางวัล ในจำนวนนั้นเป็นรางวัลโนเบลถึง 2 สาขา โดยครั้งแรกเธอได้รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับสามีเมื่อปี 1903 จากการศึกษาการแผ่รังสีอย่างต่อเนื่อง และในปีเดียวกันนี้เธอกับสามียังได้รับรางวัลเหรียญเดวี (Davy Medal) จากราชบัณฑิตอังกฤษ ต่อมาเธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับไอรีนผู้เป็นลูกสาวเมื่อปี 1911 จากงานด้านกัมมันตภาพรังสี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Madame Marie Curie (Marie Curie) or Maria Golden Meadows Academy (Maria Sklodowska) was born on 7 May. My. Since 1867 in the Russian city of Warsaw. Which later became the capital of Poland. In childhood, she studied in local schools and some scientific training from her father. She has studied physics and mathematics. The university Shore Bonn (Sorbonne) in Paris, France, and by the year 1894, she enrolled at the Institute of Physics (School of Physics), a place she has found love with Prof. Ping An Associate's Curie (Pierre Curie. ), professor of the Institute of Physics And married a year later Madame Curie was appointed Head of the Laboratory of Physics of the University of Bonn Shore. The husband and received the Sacraments of Doctor of Science in 1903, but after three years she had lost her husband to a car crash. And he was appointed Professor of Physics, Faculty of Science of the husband. This is the first time a woman has accepted this position. She has also held positions as Director of the Laboratory Curie (Curie Laboratory) in the Institute of radium (Radium Institute) of the University of Paris (University of Paris) that was established. 1914 for more research She made ​​with her ​​husband. Often face difficult situations many times. Laboratories are not ready. You also need to teach and hard to earn money to spend. And the discovery of the phenomenon of radiation Henri Becker Laurel (Henri Becquerel) since 1896 has sparked a husband - wife Curie established research and critical analysis. Which led to the split polo alloy elements (polonium) is named after the country home of Madame Curie. And radium elements (Radium) later Madame Curie has developed a method to extract the element radium from radioactive waste. It was sufficient for the characterization of the elements in the therapeutic properties and property. She was encouraged to use the element radium therapy world. During World War 1, she has dedicated to this task by a daughter, Irene Curie (Irene Curie) as an assistant as she also founded the Laboratory of Radiation many of the homeland of her own side. Personal habits that Madame Curie was a quiet, unassuming personality and elegance. And scientists worldwide respect and admiration for her. Most important in her work is reflected through numerous awards. She has won a number of awards at the prestigious science. Among them are Nobel Prize to two branches by her first Nobel Prize in Physics with her ​​husband since 1903, the study radiation continuously. And in the same year her husband won the Medal Davy (Davy Medal) from the British Academy. Later, she received the Nobel Prize in Chemistry together with Irene, a daughter in 1911 from the radioactivity.








การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Madam Marie Curie (Marie Curie) or Maria Skole DAL Saka (Maria Sklodowska) occurs when the 7 Nov 1998.1867 in Warsaw city of Russia. , which later became the capital of Poland. In childhood she studied at the local school and practice scientific skills, some from his father. Then you have to study physics and mathematics.(Sorbonne) in Paris, France, and in the years 1894 she enrolled at the Institute of Physics (School of Physics), which is a place where you fall in love with Prof.Table แอรร์ Curie (Institute of Physics) Pierre Curie teacher, and married the following year

.Madam left as the head of the University Physics Laboratory shore Bonn. From the husband and get the doctor of Philosophy in Science in 1903 but then 3 years you have to lose her husband with a traffic accident.Which is the first time that a woman has been in this position. And she has been director Curie Laboratory Curie (Laboratory) in the radium Institute (Radium Institute) of the University of Paris. (University of Paris) established last year 1914
.
.For research at first, she made with her husband is often faced with a difficult situation many times. Laboratories not ready. And they also need to study hard to earn money to pay increase.Henri Becquerel (Henri Becquerel) last year 1896 sparking both husband and wife Curie create research and analysis that is important. This led to the separation of elements polonium (polonium) named after the birthplace of country madam left and element radium (radium)
.
.Later, madam left has developed ways to separation of the elements radium from the radioactive waste. Finally, enough quantity for the characterization of the elements, attributes, and features in the treatment the disease.And during World War I 1 she has devoted himself to this task by a daughter, Irene Curie (Irene Curie) as an assistant, and she has also established a radiation laboratory in several locations in the hometown for her bedroom
.
.The personal habits that madam left was a quiet, humble and personality dignity. And scientists around the world are respected and admired in her. Important part in her works is reflected through the many awards.Among them is the noble prize 2 branch. The first, she has the Nobel Prize in physics together with her husband last year 1903 from the study of continuous radiation And in the same year, she and her husband received the medal Davy Devi (Medal).
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: