6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 งานวิจัยในประเทศปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอ การแปล - 6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 งานวิจัยในประเทศปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอ อังกฤษ วิธีการพูด

6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 งานวิจั

6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้งานด้านการบริการต่างๆ หรือการค้นคว้าหาข้อมูลทางคอมพิวเตอร์มีความสะดวกสบายเพิ่มมากขึ้น หลายหน่วยงานได้ทำการรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆไว้มากมาย ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นคว้าให้มีความสะดวกรวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนในการหาข้อมูล ทำให้ตอบสนองความต้องการของผู้ที่สนใจได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งข้อมูลสมุนไพรไทยก็เป็นข้อมูลอีกอย่างหนึ่งที่ในปัจจุบันได้รับความสนใจจากบุคคลทั่วไปอย่างแพร่หลาย จึงพบว่ามีหลายหน่วยงานได้ทำการรวบรวมข้อมูล และเผยแพร่ความรู้ ทางสมุนไพรไทย เพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาค้นคว้า และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่ข้อมูลจากหลายหน่วยงานบางอย่างอาจจะมีข้อผิดพลาด ทำให้ผู้สนใจทั่วไปไม่สามารถที่จะไดรับข้อมูลที่แท้จริงได้ (นางสาวชนาภรณ์ อำพินธ์;พ.ศ 2551)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.อนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน 2.เพื่อจัดทำคู่มือสมุนไพรและผักพื้นบ้านของชุมชนลุ่มน้ำเข็ก โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการทั้งทางตรงและทางออมในการวิจัย และให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม โดยเทคนิคการศึกษาจะประกอบด้วย การศึกษาชุมชนแบบมีส่วนร่วมและ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จากการประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการประเมินชุมชนอย่างเร่งด่วน
พบว่า ชุมชนหมู่ 5 หมู่บ้านทานตะวัน ตำบลหนองแม่น้ำ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มี
การปลูกสมุนไพรและผักพื้นบ้านและใช้ประโยชน์ในครัวเรือนของตนเองร้อยละ 33 มีการรวมกลุ่ม
จัดตั้ง“กลุ่มสมุนไพรบ้านทานตะวัน” ขึ้นรวมถึงมีการจดการรวบรวมองค์ความรู้จากชุมชนและภาค
ส่วนต่างๆถอดออกมาทำเป็นคู่มือสมุนไพรและผักพื้นบ้านของชุมชนลุ่มน้ำเข็ก และมีการรวมกันจัดทำ
สวนสมุนไพรและผักพื้นบ้านเพื่อเป็นศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ของชุมชน
คำสำคัญ : การคงอยู่ สมุนไพร ผักพื้นบ้าน และชุมชนลุ่มน้ำเข็ก ( นางสุภาพร บางใบและคณะ;พ.ศ 2555 )
การใช้สมุนไพรรักษาโรคเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีการสั่งสมและสืบทอดมายาวนาน เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ในการดูแลสุขภาพซึ่งบรรพชนได้ค้นพบ สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามในการพึ่งตนเองเพื่อแสวงหาทางออกที่ยั่งยืนให้กับสุขภาพ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่ายิ่งของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังที่ปรากฏในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง สมัยสุโขทัยที่กล่าวถึงการสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่ไว้บนเขาหลวงหรือเขาสรรพยาเพื่อให้ประชาชนได้เก็บสมุนไพรไปใช้ในยามเจ็บป่วย สมัยกรุงศรีอยุธยาพบบันทึกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่ามีระบบการจัดหายาสมุนไพรที่ชัดเจนสำหรับประชาชน มีแหล่งจำหน่ายยาและสมุนไพรหลายแห่งทั้งในและนอกกำแพงเมือง มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกเรียกว่า ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ในปัจจุบันมีวัดโพธิ์เป็นสัญลักษณ์ของสถานศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนโบราณของไทย(กองการประกอบโรคศิลปะ. 2549) นอกจากนี้แล้วยังมีการประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีหมอพื้นบ้านเป็นผู้ใช้สมุนไพรในการรักษาโรคแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านของตนและหมู่บ้านใกล้เคียง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทมีความรู้ในการใช้สมุนไพรซึ่งมิใช่จำกัดอยู่เฉพาะการรักษาโรคเท่านั้น แม้กระทั่งในชีวิตประจำวันก็ใช้สมุนไพร เช่น นำผักต่างๆ มารับประทานเป็นผักเคียงหรือประกอบเป็นอาหาร เป็นต้น
หลายปีที่ผ่านมาตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) จนกระทั่งถึงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10 (2549-2554) ภาครัฐมีนโยบายที่ต่อเนื่องในการส่งเสริมการใช้สมุนไพรและการแพทย์แผนไทย ดังเห็นได้จากในปี 2537 มีการประกาศใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานซึ่งเป็นสมุนไพรที่ใช้เป็นประจำในครัวเรือน การนำมาใช้ไม่ยุ่งยาก โดยจำแนกสมุนไพรเพื่อการรักษาตามกลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วย 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยระบบทางเดินหายใจ กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยระบบทางเดินปัสสาวะ กลุ่มโรคผิวหนังและการเจ็บป่วยอื่นๆ และในปี 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ คือ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน มีบริการด้านแพทย์แผนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าครอบคลุมทุกแห่งโดยมีสถานที่ให้บริการเป็นการเฉพาะตามเกณฑ์มาตรฐานงานบริการแพทย์แผนไทยซึ่งกำหนดโดยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แต่จากการศึกษาข้อมูลเรื่องสถานการณ์และแนวโน้มเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย ระหว่างปี 2546-2550 ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการซึ่งจัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าในปี 2550 เวลาประชาชนเจ็บป่วยหรือรู้สึกไม่สบายจะไปรักษาที่สถานีอนามัยมากที่สุด(ร้อยละ 32.0) รองลงมาคือซื้อยากินเองหรือไปโรงพยาบาลเอกชนหรือคลีนิก (ร้อยละ 26.5) และการเลือกวิธีการรักษาของประชาชนด้วยการใช้สมุนไพรว่ามีแนวโน้มลดลง ทั้งๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2546 ใช้วิธีรักษาโดยใช้ยาแผนโบราณหรือยาสมุนไพร ร้อยละ 2.1 ลดลงเหลือร้อยละ 1.3 ในปี 2547 ซึ่ง 3 ปี ถัดมา(2548-2550) การใช้สมุนไพรและยาสมุนไพรเหลือเพียงร้อยละ 1 เท่ากัน(ปรียา มิตานนท์, 2551)
ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา เรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชน โดยเลือกพื้นที่ศึกษาคือ เขตตรวจราชการที่ 11 กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร ซึ่ง พบว่า มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรต่อมูลค่าการใช้ยาทั้งหมดในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ จังหวัด นครพนม ร้อยละ 3.46 มุกดาหาร ร้อยละ 2.59 และสกลนคร ร้อยละ 2.22 (พินทุสร เหมพิสุทธิ์, 2553) และจากการศึกษาความต้องการใช้บริการทางการแพทย์แผนไทยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร พบว่าต้องการใช้สมุนไพรร้อยละ 25 (ขนิษฐา ทุมา, วิวัฒน์ ศรีวิชา, พิเชษฐ เวชวิฐาน, 2552) เพื่อนำผลการวิจัยที่ได้มาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สมุนไพรในดูแลสุขภาพและรักษาอาการเจ็บป่วย ต่อไป
(นายสุกิจ ไชยชมภูและคณะ;พ.ศ 2553)


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
6. related research 6.1 research in the country.Today, computer technology has been developed rapidly. The service work or research to find information on a computer with more comfort. Several agencies have been collecting information in many areas. This can improve performance in research, there is a very fast. Reduction of redundancy in the data. To meet the needs of those who are interested in better. Thai herbal information, which is data that is currently receiving attention from the general public extensively. It found that many agencies have made data collection and dissemination of Thai herbal knowledge for education, research and applications in everyday life, but data from multiple agencies, there may be some errors. Make a general interest cannot be the actual data (for Ms. Chanapra Amphin; 2551 (2008) Wed Fri) This research aims 1. conservation of plants, herbs and vegetables 2. to prepare a guide to herbs and vegetables of community watershed khek community by participating in all processes, both directly and through OM in research in all sectors, and participation by technical education consists of: Study on the community participation and research workshop on the participation of the meeting involved and assess urgent community. I found that the 5 villages of sunflower village community. Tambon Nong Khao Kho, phetchabun province district rivers has.Planting herbs and vegetables and use in their own households, there are 33 per cent of total Group.Establishment of a "Sunflower houses herbal groups", including a note to gather knowledge from communities and regions.Removable parts coming in as a guide to herbs and vegetables of community folk khek River and has made.Herb Garden and vegetables to live with zero knowledge of the community. Keywords: retention Herbs, vegetables and folk community watershed khek (Mrs. Suphaphon some of 2555 (2012) Fri Wed;)Using herbs to treat diseases as villagers with wisdom and long experience derived as both science and art in health care which book people have found reflects the self-reliance efforts to seek lasting solution to health care is a cultural heritage with you c.More of Thai since past till present, as shown in the stone inscription of the PHO Khun Ramkhamhaeng. Sukhothai period that covers the creation of a large herb garden on the Khao Luang, or his mother's herbal store, so that drugs can be used in time of illness. The Ayutthaya period was recorded in the reign of King Narai as herbal medicine supply system that is clearly for people. There are many herbal medicines and supplier sources both in and outside the city walls. The erection is collected for the first time called the textbook of osot Phra Narai. At present, there is Wat Pho is a symbol of the school's oldest traditional medicine herbs and aspects of Thai (contemporary art centre Division 2549 (2006).) In addition, there are also application of herbs with different regions of the country, in different formats, for example, to the Northeast with the doctor a folk herb in the treatment of disease to people who live in their villages, and neighboring villages. People living in rural areas had knowledge of herbs, which are not limited to disease only. Even in everyday life, using herbs, such as bringing vegetables and vegetable side dish or a meal from the food, etc. The past several years since the public health development plan issue 4 (2520 (1977)-2524 (1981)) until the national health development plan, vol. 10 (2549 (2006)-2554 (2011)) Government's policy is to promote the use of Thai traditional medicine and herbs. As seen from the 2537 (1994) year was announced at the base herbal health herbs which are used regularly in the household. Implemented without cumbersome by the characterization of herbs to heal illness and disease by 5 groups of such diseases and illness in the digestive system. Group of diseases and symptoms of respiratory illnesses. Illness and disease groups, Urological Group, skin diseases and other illnesses, and in the year 2547 (2004) the Ministry of public health has been given to State health services around the hospital is zero. General Hospital. Community Hospital and health centre or community health station Thai traditional medicine services in the primary health insurance system covering every one with a specific property on the basis of standard Thai traditional medicine service which is determined by the development of Thai traditional medicine and alternative medicine, but from understanding about the situation and trends concerning medical.Thai plans during the year 2546 (2003)-2550 (2007), which is the data from the survey of health and welfare, which is supplied by the National Statistics Office. Found that in the year 2550 (2007) times people getting sick or discomfort is going to maintain that most health stations (32.0 percent), the second is the medicines themselves, eat or go to a private hospital or clinic (26.5 per cent) and select a method of treatment of people by using herbs that are likely to decrease. Even though supported by the Government continued in the year 2546 (2003) treatment method is based on ancient medicine or herbal medicine. 2.1 per cent decline year-on-year 1.3 percent remains in the next 3-year 2547 (2004) (2548 (2005)-2550 (2007)) The use of herbs and medicinal herbs the same 1 per cent only (priya-eye small earthen cistern, 2551 (2008)) ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา เรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชน โดยเลือกพื้นที่ศึกษาคือ เขตตรวจราชการที่ 11 กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร ซึ่ง พบว่า มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรต่อมูลค่าการใช้ยาทั้งหมดในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ จังหวัด นครพนม ร้อยละ 3.46 มุกดาหาร ร้อยละ 2.59 และสกลนคร ร้อยละ 2.22 (พินทุสร เหมพิสุทธิ์, 2553) และจากการศึกษาความต้องการใช้บริการทางการแพทย์แผนไทยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร พบว่าต้องการใช้สมุนไพรร้อยละ 25 (ขนิษฐา ทุมา, วิวัฒน์ ศรีวิชา, พิเชษฐ เวชวิฐาน, 2552) เพื่อนำผลการวิจัยที่ได้มาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สมุนไพรในดูแลสุขภาพและรักษาอาการเจ็บป่วย ต่อไป(Mr. Sukit Chai Chom Phu and Board; 2553 (2010) Wed Fri)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้งานด้านการบริการต่างๆ หรือการค้นคว้าหาข้อมูลทางคอมพิวเตอร์มีความสะดวกสบายเพิ่มมากขึ้น หลายหน่วยงานได้ทำการรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆไว้มากมาย ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นคว้าให้มีความสะดวกรวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนในการหาข้อมูล ทำให้ตอบสนองความต้องการของผู้ที่สนใจได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งข้อมูลสมุนไพรไทยก็เป็นข้อมูลอีกอย่างหนึ่งที่ในปัจจุบันได้รับความสนใจจากบุคคลทั่วไปอย่างแพร่หลาย จึงพบว่ามีหลายหน่วยงานได้ทำการรวบรวมข้อมูล และเผยแพร่ความรู้ ทางสมุนไพรไทย เพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาค้นคว้า และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่ข้อมูลจากหลายหน่วยงานบางอย่างอาจจะมีข้อผิดพลาด ทำให้ผู้สนใจทั่วไปไม่สามารถที่จะไดรับข้อมูลที่แท้จริงได้ (นางสาวชนาภรณ์ อำพินธ์;พ.ศ 2551)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.อนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน 2.เพื่อจัดทำคู่มือสมุนไพรและผักพื้นบ้านของชุมชนลุ่มน้ำเข็ก โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการทั้งทางตรงและทางออมในการวิจัย และให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม โดยเทคนิคการศึกษาจะประกอบด้วย การศึกษาชุมชนแบบมีส่วนร่วมและ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จากการประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการประเมินชุมชนอย่างเร่งด่วน
พบว่า ชุมชนหมู่ 5 หมู่บ้านทานตะวัน ตำบลหนองแม่น้ำ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มี
การปลูกสมุนไพรและผักพื้นบ้านและใช้ประโยชน์ในครัวเรือนของตนเองร้อยละ 33 มีการรวมกลุ่ม
จัดตั้ง“กลุ่มสมุนไพรบ้านทานตะวัน” ขึ้นรวมถึงมีการจดการรวบรวมองค์ความรู้จากชุมชนและภาค
ส่วนต่างๆถอดออกมาทำเป็นคู่มือสมุนไพรและผักพื้นบ้านของชุมชนลุ่มน้ำเข็ก และมีการรวมกันจัดทำ
สวนสมุนไพรและผักพื้นบ้านเพื่อเป็นศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ของชุมชน
คำสำคัญ : การคงอยู่ สมุนไพร ผักพื้นบ้าน และชุมชนลุ่มน้ำเข็ก ( นางสุภาพร บางใบและคณะ;พ.ศ 2555 )
การใช้สมุนไพรรักษาโรคเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีการสั่งสมและสืบทอดมายาวนาน เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ในการดูแลสุขภาพซึ่งบรรพชนได้ค้นพบ สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามในการพึ่งตนเองเพื่อแสวงหาทางออกที่ยั่งยืนให้กับสุขภาพ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่ายิ่งของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังที่ปรากฏในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง สมัยสุโขทัยที่กล่าวถึงการสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่ไว้บนเขาหลวงหรือเขาสรรพยาเพื่อให้ประชาชนได้เก็บสมุนไพรไปใช้ในยามเจ็บป่วย สมัยกรุงศรีอยุธยาพบบันทึกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่ามีระบบการจัดหายาสมุนไพรที่ชัดเจนสำหรับประชาชน มีแหล่งจำหน่ายยาและสมุนไพรหลายแห่งทั้งในและนอกกำแพงเมือง มีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกเรียกว่า ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ในปัจจุบันมีวัดโพธิ์เป็นสัญลักษณ์ของสถานศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนโบราณของไทย(กองการประกอบโรคศิลปะ. 2549) นอกจากนี้แล้วยังมีการประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีหมอพื้นบ้านเป็นผู้ใช้สมุนไพรในการรักษาโรคแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านของตนและหมู่บ้านใกล้เคียง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชนบทมีความรู้ในการใช้สมุนไพรซึ่งมิใช่จำกัดอยู่เฉพาะการรักษาโรคเท่านั้น แม้กระทั่งในชีวิตประจำวันก็ใช้สมุนไพร เช่น นำผักต่างๆ มารับประทานเป็นผักเคียงหรือประกอบเป็นอาหาร เป็นต้น
หลายปีที่ผ่านมาตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุขฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) จนกระทั่งถึงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10 (2549-2554) ภาครัฐมีนโยบายที่ต่อเนื่องในการส่งเสริมการใช้สมุนไพรและการแพทย์แผนไทย ดังเห็นได้จากในปี 2537 มีการประกาศใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานซึ่งเป็นสมุนไพรที่ใช้เป็นประจำในครัวเรือน การนำมาใช้ไม่ยุ่งยาก โดยจำแนกสมุนไพรเพื่อการรักษาตามกลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วย 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยระบบทางเดินหายใจ กลุ่มโรคและอาการเจ็บป่วยระบบทางเดินปัสสาวะ กลุ่มโรคผิวหนังและการเจ็บป่วยอื่นๆ และในปี 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ คือ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน มีบริการด้านแพทย์แผนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าครอบคลุมทุกแห่งโดยมีสถานที่ให้บริการเป็นการเฉพาะตามเกณฑ์มาตรฐานงานบริการแพทย์แผนไทยซึ่งกำหนดโดยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แต่จากการศึกษาข้อมูลเรื่องสถานการณ์และแนวโน้มเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย ระหว่างปี 2546-2550 ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการซึ่งจัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าในปี 2550 เวลาประชาชนเจ็บป่วยหรือรู้สึกไม่สบายจะไปรักษาที่สถานีอนามัยมากที่สุด(ร้อยละ 32.0) รองลงมาคือซื้อยากินเองหรือไปโรงพยาบาลเอกชนหรือคลีนิก (ร้อยละ 26.5) และการเลือกวิธีการรักษาของประชาชนด้วยการใช้สมุนไพรว่ามีแนวโน้มลดลง ทั้งๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2546 ใช้วิธีรักษาโดยใช้ยาแผนโบราณหรือยาสมุนไพร ร้อยละ 2.1 ลดลงเหลือร้อยละ 1.3 ในปี 2547 ซึ่ง 3 ปี ถัดมา(2548-2550) การใช้สมุนไพรและยาสมุนไพรเหลือเพียงร้อยละ 1 เท่ากัน(ปรียา มิตานนท์, 2551)
ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา เรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรรักษาโรคของประชาชน โดยเลือกพื้นที่ศึกษาคือ เขตตรวจราชการที่ 11 กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วย 3 จังหวัด ได้แก่ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร ซึ่ง พบว่า มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรต่อมูลค่าการใช้ยาทั้งหมดในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ จังหวัด นครพนม ร้อยละ 3.46 มุกดาหาร ร้อยละ 2.59 และสกลนคร ร้อยละ 2.22 (พินทุสร เหมพิสุทธิ์, 2553) และจากการศึกษาความต้องการใช้บริการทางการแพทย์แผนไทยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร พบว่าต้องการใช้สมุนไพรร้อยละ 25 (ขนิษฐา ทุมา, วิวัฒน์ ศรีวิชา, พิเชษฐ เวชวิฐาน, 2552) เพื่อนำผลการวิจัยที่ได้มาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สมุนไพรในดูแลสุขภาพและรักษาอาการเจ็บป่วย ต่อไป
(นายสุกิจ ไชยชมภูและคณะ;พ.ศ 2553)


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
6. Relevant research in the country 6.1

.Nowadays, computer technology has developed rapidly. Make the services. The research on computer comfort increases.Which can increase the efficiency of searching is rapid. Reducing redundancy in the data. To meet the needs of interested people better.It is found that there are many agencies data collection and dissemination of knowledge of herbs for the sake of your research. And applied in daily life. But the data from several agencies, some may have errors.(Ms. Chana Nai District pin bandwidth;In 2551)
this research purpose. 1. Conservative plants herbs and vegetables 2.Handbook of herbs and vegetables for local community Khek River Basin The community participation in the process of both direct and savings in research. And to all sectors involved. By the technical education will consist ofParticipatory action research From the stakeholders. And the study of urgent
.Found that the village community 5 sunflower Nong River, Khao Chamao District of Phetchabun province. A
growing herbs and vegetables and use in their household (33 got integration
.The establishment of "medicinal sunflower house." Up the recognition of gathering knowledge from the community and region
parts removed act guide herbs and vegetables basin community Khek And with the combination preparation
.Herb gardens and vegetables to zero knowledge base of community
key words: persistence, herbs, vegetables, and community Khek River Basin (her politely. Some leaves and faculty; in 2555)
.The use of therapeutic herbs is wisdom and has a long tradition. The accumulation Is both a science and an art in health care, which our ancestors discovered.A valuable cultural heritage the industry from the past to the present. As shown in the inscriptions of the overlap.The Ayutthaya period was recorded in the reign of King Narai the great that has clear supply herbal medicine for the people. Many of the drug and herbal sources both inside and outside the city walls is collected for pharmaceutical services.Textbook of medicine Narayana Currently has a Wat Pho is a symbol of the school, the oldest of herbs and traditional medicine industry (young.2549) the application of herbs available in various regions. Of countries in different forms, such asPeople living in the countryside have knowledge in the use of herbs, which is not limited to specific treatment only. Even in everyday use herbs, such as the various vegetables, eat a vegetable side dish or constitute the food, etc.!Over the years since the 4 (the health development plan2520-2524) until the national health development plan the 10 (2549-2554). Government policy continued to promote the use of herbs and medicine as can be seen from the 2537 year.Application of simple. Classified herbs for treatment according to the disease and symptoms of illness 5 groups, one disease and illness in the digestive tract. The disease and respiratory symptomsSkin diseases and other health and illness in 2547 provided health public health of the state's Regional General hospital, community hospitals and health centres or community health centerBut the study from the current situation and trend about medicine during the years 2546-2550 which is the data from the health and welfare which conducted by the National Statistical Office. Found in 2550.32.0), followed by the purchase medicine or go to private hospitals or clinics (% 26.5) and choosing the treatment methods of the people with the use of herbs that tend to decrease when the support from government continuously. In 2546 method of treatment using traditional medicine or herbal medicine (2.1 reduced 1 percent.3 in 2547 which 3 years later (2548-2550). The use of herbs and herbal 1 rate (% d), Priya, Amitabh 2551
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: