Queen West thong PHA Phum propertyAmong all types of freshwater crab "crab Queen." it is a fresh-water crab, crab, wild, with colorful colourful colours are up to 3 straight legs, red Bishop is the legs and claws clutch khopkradong white klangkradong blue met. Similar to the flag of Thailand. Villagers often referred to one another as "three crabs".ปูราชินี ได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นการถวายพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ พ.ศ.2535 มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thaiphusa sirikit (Naiyanetr, 1992) และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า Regal Grab ปัจจุบันปูราชินีจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองที่หายากในสภาพธรรมชาติสำหรับใครที่ยังไม่เคยเห็นและอยากเห็นปูที่สวยที่สุดนี้ต้องลองเดินทางไปแถวอุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เพราะปูชนิดนี้เป็นปูเฉพาะถิ่นและปัจจุบันจัดอยู่ในสภาพหายากในสภาพธรรมชาติ ปูราชินีจึงกลายเป็นความภาคภูมิใจของชุมชนเพราะเปรียบเสมือนสัญลักษณ์แห่งผืนป่าทองผาภูมิตะวันตกที่เกรงว่าใกล้จะสูญพันธุ์ ดังนั้น โครงการ BRT จึงได้ร่วมกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สนับสนุนให้นายสิทธิพงศ์ วงศ์วิลาส ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการ BRT ทำการศึกษาปูราชินีเพื่อเป็นข้อมูลสำคัญในการที่จะส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนให้เห็นคุณค่าและร่วมกันอนุรักษ์ปูราชินีให้อยู่คู่กับท้องถิ่นสืบไปQueen crab found?จากการสอบถามชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พบว่า ปูราชินีชอบอาศัยอยู่ตามริมลำห้วยและในพื้นที่พุ ได้แก่ บริเวณห้วยพัสดุกลาง (บ้านพัสดุกลาง) ห้วยปากคอก พุท่ามะเดื่อ และพุปูราชินี (ออป.) โดยเฉพาะพุปูราชินีจะพบมากกว่าที่อื่น ปูราชินีที่พบมักจะมีความหลากหลายของสี คือ กลุ่มที่มีขาสีส้มสด และกลุ่มที่มีสีขาเป็นสีขาว โดยปกติปูราชินีจะออกจากรูมาเดินให้เห็นเต็มไปหมดในช่วงที่มีฝนตกหนักๆ ซึ่งบางครั้งสามารถจับได้เป็นกาละมังเลยทีเดียว แต่ถ้าฝนฟ้าครึ้มก็จะพบอยู่แค่ปากรู รูปูราชินีจะเป็นรูที่ดิ่งตรงลงไป แล้วหักเป็นแนวระนาบยาวออกไป ความลึกของรูขึ้นอยู่กับความลึกของน้ำใต้ดิน ในหน้าแล้งปูจะเอาดินมาพอกที่ปากรูให้สูงขึ้นเพื่อกันน้ำเข้า และปิดปากรูด้านบน ชาวบ้านยังบอกอีกว่าปูราชินีน่าจะออกลูกปีละครั้ง โดยจะเห็นปูราชินีเริ่มมีไข่และออกลูกประมาณปลายเดือนกันยายนบ้านหลังน้อยๆ ของปูราชินีเมื่อสังเกตการกระจายของรูปูที่พุปูราชินี พบว่า มีการกระจายแบบไม่สม่ำเสมอ โดยจะรวมกันอยู่เป็นกระจุกๆ ตามโคนต้นไม้หรือพื้นที่โล่งๆ สภาพทั่วไปของพุปูราชินีบริเวณที่ปูขุดรูอาศัยอยู่จะร่มรื่น มีต้นไม้ใหญ่ปกคลุม ปริมาณแสงส่องถึงพื้นน้อยมาก ไม้ชั้นกลางมีมากแต่ไม่แน่นทึบ พื้นดินล่างมีเศษใบไม้ปกคลุมทั่วไป ไม้พื้นล่างและกล้าไม้มีน้อยลักษณะรูปูราชินีที่พบจะมีอยู่ 3 แบบ ดังนี้ 1. it is a pile of manure and soil with stack mouth hole earthwork is 8-15 cm height, diameter of earthwork will be in the range of 15-20 cm. find the little hole of approximately 15 per cent of all the holes that were found. 2. a pile of earthwork, but none of the soil pile hole mouth earthwork is height 6-10 cm diameter of 14-17 cm clay content of the diameter of the mouth hole 1.8-4.2 cm. find the hole is more than 35% of the first hole at all were found. 3. เป็นรูแบบเปิด ไม่มีกองมูลดินและไม่มีดินปิดปากรู เส้นผ่าศูนย์กลางของปากรู 1.5-4.8 เซนติเมตร รูลักษณะนี้จะพบมากที่สุดประมาณร้อยละ 50 ของรูที่พบ รูลักษณะนี้ รอบๆ ปากรูจะสะอาด ในรัศมีจากขอบปากรู 2-3 เซนติเมตร จะไม่มีเศษใบไม้กิ่งไม้อยู่เลยพฤติกรรมน่ารักๆ ที่พบเห็นได้จากปูราชินีจากการเฝ้าสังเกตพฤติกรรมปูราชินี พบว่า ปูราชินีมีพฤติกรรมที่น่าสนใจหลายอย่าง เช่น พฤติกรรมการกินอาหารซึ่งปูราชินีสามารถกินอาหารได้หลายชนิดทั้งเศษซากพืชซากสัตว์ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น หอย, เนื้อปลา, ไส้เดือน, จิ้งเหลน, ปูตัวเล็ก, อาหารแมว และข้าวสุก โดยปูราชินีสามารถกินอาหารได้ทั้งในน้ำและบนบก นอกจากนี้ยังพบว่าปูนำอาหารลงไปกินในรูอีกด้วย โดยส่วนใหญ่ปูจะออกมาหาอาหารเมื่อมีฝนตก
สำหรับการขุดรูนั้นปูราชินีจะใช้ก้ามและปลายเล็บเท้าข้างใดข้างหนึ่งจิกลงดินแล้วโกยเข้าหาตัว ดินจะเป็นขุย แล้วปูจะใช้ก้ามและขาคู่ที่ 1 หนีบดินเข้าหาตัวแล้วเดินขึ้นมาบนปากรูแล้วใช้ก้ามดันดินออกไปวางไว้รอบๆ รู ในบางครั้งอาจเห็นการต่อสู้เพื่อแย่งรูกันเกิดขึ้น โดยปูที่แข็งแรงกว่าจะใช้ก้ามหนีบตัวปูที่อยู่ในรูออกมา หากปูเจ้าของรูสามารถต่อสู้ได้ก็จะได้ครอบครองรูต่อไป แต่หากว่าแพ้ก็ต้องสละรูนั้นให้กับผู้ชนะ ส่วนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ พบว่าปูจะวิ่งลงรูทันทีแม้ว่าจะไม่ใช่รูของตนก็ตาม จากนั้นประมาณ 15 นาทีก็จะออกมาจากรู สิ่งเร้าที่ปูตอบสนองน้อยที่สุด ก็คือ แสงไฟ เมื่อเทียบกับเสียงเดินและเสียงพูดคุย
พฤติกรรมน่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือ ปูจะพ่นน้ำออกมาบางครั้งเป็นฟองอากาศแต่บางครั้งก็เป็นทางยาว ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-20 นาทีหรือมากกว่านั้น นอกจากนี้ปูราชินียังมีการขับถ่ายโดยจะเปิดจับปิ้งแล้วใช้ก้ามหนีบเอาแท่งอุจจาระออกมา
สำหรับใครที่ยังไม่รู้จะไปเที่ยวที่ไหนหรือกำลังมองที่เที่ยวเพื่อดื่มด่ำกับธรรมชาติ ลองหาโอกาสมาเยือนทองผาภูมิโดยเฉพาะในช่วงหน้าฝน เพราะนอกจากจะได้สัมผัสกับธรรมชาติอันเขียวขจีของผืนป่าทองผาภูมิตะวันตกแล้วยังเป็นโอกาสดีที่จะได้เห็น “ปูราชินี” ปูน้ำจืดที่สวยและหายากชนิดหนึ่งของเมืองไทย
การแปล กรุณารอสักครู่..
